1 / 52

ทะเบียนหนังสือเก็บ

แบบทะเบียนหนังสือเก็บ. แบบที่ ๒๐. เลขทะเบียนรับ. รหัสแฟ้ม. กำหนด เวลาเก็บ. ลำดับที่. วันเก็บ. เรื่อง. ทะเบียนหนังสือเก็บ. ที่. หมายเหตุ. การรักษาหนังสือ.

payton
Download Presentation

ทะเบียนหนังสือเก็บ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แบบทะเบียนหนังสือเก็บแบบทะเบียนหนังสือเก็บ แบบที่ ๒๐ เลขทะเบียนรับ รหัสแฟ้ม กำหนด เวลาเก็บ ลำดับที่ วันเก็บ เรื่อง ทะเบียนหนังสือเก็บ ที่ หมายเหตุ

  2. การรักษาหนังสือ ให้เจ้าหน้าที่ระมัดระวังรักษาหนังสือให้อยู่ใน สภาพใช้ราชการได้ทุกโอกาส หากชำรุดเสียหาย ต้องรีบซ่อมแซมให้ใช้ราชการได้เหมือนเดิม หาก สูญหายต้องหาสำเนามาแทน ถ้าชำรุดเสียหายจน ไม่สามารถซ่อมแซมให้คงสภาพเดิมได้ ให้รายงาน ให้ผู้บังคับบัญชาทราบและให้หมายเหตุไว้ในทะเบียนเก็บด้วย ถ้าหนังสือที่สูญหายเป็นเอกสารสิทธิตามกฎหมายหรือหนังสือสำคัญที่เป็นการแสดงเอกสารสิทธิ ก็ให้ดำเนินการแจ้งความต่อพนักงานสอบสวน

  3. การทำลายหนังสือ ภายใน ๖๐ วัน หลังจากสิ้นปีปฏิทินให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการเก็บหนังสือ สำรวจหนังสือที่ครบ อายุการเก็บในปีนั้น ไม่ว่าจะเป็นหนังสือที่เก็บไว้เอง หรือที่ ฝากเก็บไว้ที่กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร แล้วจัดทำบัญชีหนังสือขอทำลายเสนอหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมเพื่อพิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือ

  4. แบบที่ ๒๕ รหัส แฟ้ม ลงวันที่ เลขทะเบียน การพิจารณา ลำดับ ที่ เรื่อง ที่ หมายเหตุ บัญชีหนังสือขอทำลายประจำปี....................... กระทรวง/ทบวง........................................ วันที่................................... กรม................................... แผ่นที่............ กอง....................................

  5. คณะกรรมการทำลายหนังสือคณะกรรมการทำลายหนังสือ ให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมหรือผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือ ประกอบด้วยประธานกรรมการและกรรมการอีก อย่างน้อยสองคน โดยปกติให้แต่งตั้งจากข้าราชการระดับสามหรือเทียบเท่า ถ้าประธานกรรมการไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งทำหน้าที่ประธาน มติคณะกรรมการให้ถือเสียงข้างมาก ถ้ากรรมการผู้ใดไม่เห็นด้วย ให้ทำบันทึกความเห็นแย้ง

  6. หน้าที่ของคณะกรรมการทำลายหนังสือหน้าที่ของคณะกรรมการทำลายหนังสือ ๑.พิจารณาหนังสือที่จะขอทำลายตามบัญชีหนังสือขอทำลาย ๒. คณะกรรมการเห็นว่าหนังสือฉบับใดไม่ควรทำลายและควร ขยายเวลาการเก็บ ให้ลงความเห็นว่าจะขยายเวลาเก็บไว้ถึง เมื่อใดในช่องการพิจารณาของบัญชีหนังสือขอทำลาย แล้ว แก้ไขอายุการเก็บหนังสือในตรากำหนดเก็บ โดย ประธานกรรมการลงลายมือชื่อกำกับการแก้ไข

  7. × หน้าที่ของคณะกรรมการทำลายหนังสือ ๓. คณะกรรมการเห็นควรให้ทำลายให้กรอก เครื่องหมาย ( ) ลงในช่องการพิจารณา ๔. เสนอรายงานผลการพิจารณาพร้อมทั้งความเห็นแย้ง เสนอหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมเพื่อพิจารณา สั่งการ ๕. ควบคุมการทำลาย

  8. แบบที่ ๒๕ รหัส แฟ้ม ลงวันที่ เลขทะเบียน การพิจารณา ลำดับ ที่ เรื่อง ที่ หมายเหตุ × × × บัญชีหนังสือขอทำลายประจำปี....................... กระทรวง/ทบวง........................................ วันที่................................... กรม................................... แผ่นที่............ กอง....................................

  9. การทำลายหนังสือ เมื่อหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมได้รับรายงานจาก คณะกรรมการทำลายหนังสือ ให้พิจารณาสั่งการ ดังนี้ ๑. ถ้าเห็นว่าหนังสือเรื่องใดยังไม่ควรทำลาย ให้สั่งการ ให้เก็บหนังสือนั้นไว้จนถึงเวลาทำลายงวดต่อไป ๒. ถ้าเห็นว่าหนังสือเรื่องใดควรทำลาย ให้ส่งบัญชี หนังสือขอทำลายไปให้ กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากรพิจารณา

  10. การทำลายหนังสือ ถ้ากองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากรเห็นชอบ ด้วย ให้แจ้งส่วนราชการนั้นดำเนินการทำลายหนังสือต่อไปได้ หากกองจดหมายเหตุแห่งชาติไม่แจ้งให้ทราบภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันที่ส่วนราชการนั้นส่งเรื่องให้กองจดหมายเหตุแห่งชาติ ให้ถือว่ากองจดหมายเหตุแห่งชาติได้ให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ทำลายหนังสือได้

  11. การทำลายหนังสือ ถ้ากองจดหมายเหตุแห่งชาติเห็นว่า หนังสือฉบับใดควรขยายเวลาการเก็บไว้อย่างใด หรือให้เก็บไว้ตลอดไป ให้แจ้งส่วนราชการนั้นทราบ และให้ส่วนราชการนั้นทำการแก้ไข ตามที่กองจดหมายเหตุแห่งชาติแจ้ง หากหนังสือฉบับใดกองจดหมายเหตุแห่งชาติเห็นควรให้ส่งไปเก็บไว้ที่กองจดหมายเหตุแห่งชาติก็ให้ส่วนราชการนั้นปฏิบัติตาม เพื่อประโยชน์ในการนี้ กองจดหมายเหตุแห่งชาติ จะส่งเจ้าหน้าที่มาร่วมตรวจสอบหนังสือของส่วนราชการนั้นก็ได้

  12. ข้อยกเว้น ๑. หนังสือที่ต้องสงวนไว้เป็นความลับให้ปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ ๒. หนังสือที่มีกฎหมาย ข้อบังคับหรือระเบียบที่ออกใช้เป็นการทั่วไปกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น ๓. หนังสือที่ส่วนราชการมีความจำเป็นต้องเก็บไว้ ที่ส่วนราชการนั้น ให้จัดทำบัญชีหนังสือที่ครบ ๒๕ ปี ซึ่งขอเก็บเองส่งมอบให้กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร

  13. การทำลายหนังสือ ๑. หนังสือทั่วไป ๑.๑ โดยวิธีการเผา ๑.๒ โดยวิธีการอื่นใดที่ไม่ให้หนังสืออ่านเป็นเรื่องได้ ๒. หนังสือที่มีชั้นความลับ ๒.๑ โดยวิธีการเผาแล้วขยี้ขี้เถาให้เป็นผง ๒.๒ โดยวิธีการแปรรูปอย่างอื่นจนไม่สามารถ ทราบความลับในซากเอกสาร

  14. สวัสดี

  15. ระบบการจัดเก็บ การจัดเก็บเอกสาร อาจจำแนกเอกสารเป็นระบบได้ดังนี้ ๑. เก็บตามหัวเรื่อง(Subject Files) ๒. เก็บตามชื่อหน่วยงานหรือบุคคล(Name Files) ๓. เก็บตามชื่อภูมิศาสตร์(Geographical) ๔. เก็บตามรหัส(Numeric Files) ๕. เก็บตามลำดับวัน เดือน ปี(Chronological)

  16. ระบบการจัดเก็บ ๑. เก็บตามหัวเรื่อง(Subject Files) คือการจัดเก็บเอกสาร โดยจำแนกเอกสารออกเป็นหัวข้อ ตามหน้าที่ความรับผิดชอบหรือลักษณะงาน เอกสารทั่วไป สามารถจำแนกเป็นหัวข้อใหญ่ ๆ ได้ ๑๐ หมวด ๒. เก็บตามชื่อหน่วยงานหรือบุคคล(Name Files) คือ การเก็บเอกสารเรียงตามลำดับชื่อหน่วยงาน หรือชื่อบุคคล เช่นกระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม

  17. ระบบการจัดเก็บ ๓. เก็บตามชื่อภูมิศาสตร์(Geographical) คือการเก็บเอกสารตามสถานที่ตั้งของหน่วยงาน ซึ่งอาจแยกเป็น ภาค เขต จังหวัด อำเภอตำบล เช่น สรรพากรเขต ๔. เก็บตามรหัส(Numeric Files) คือ การเก็บเอกสารโดยให้หมายเลขแก่เอกสารต่าง ๆ เช่น เอกสารเกี่ยวกับการเงินเป็น ประเภท ๐๑ เอกสารเกี่ยวกับการบริหารบุคคล ประเภท ๐๒

  18. ระบบการจัดเก็บ ๕. เก็บตามลำดับวัน เดือน ปี (Chronological) คือ การเก็บเอกสารตามลำดับวัน เดือน ปี ที่ส่งหนังสือออกหรือรับเข้ามาในหน่วยงาน

  19. ระบบการจัดเก็บ การเก็บเอกสารตามหัวเรื่อง (Subject Files) หนังสือราชการสามารถจัดหมวดเอกสารได้ ๙ หมวด คือ ๑. หมวดที่ ๑ การเงินและงบประมาณ ๒. หมวดที่ ๒ มติคณะรัฐมนตรี คำสั่ง ระเบียบ คู่มือ ๓. หมวดที่ ๓ การโต้ตอบ ๔. หมวดที่ ๔ การบริหารทั่วไป ๕. หมวดที่ ๕ การบริหารบุคคล

  20. ระบบการจัดเก็บ การเก็บเอกสารตามหัวเรื่อง(Subject Files) หนังสือราชการสามารถจัดหมวดเอกสารได้๑๐หมวด คือ ๖. หมวดที่ ๖ เบ็ดเตล็ด ๗. หมวดที่ ๗ การประชุม ๘. หมวดที่ ๘ การฝึกอบรม บรรยาย ทุน และ การดูงาน ๙. หมวดที่ ๙ พัสคุ ครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ๑๐. หมวดที่ ๑๐ สถิติ และรายงาน

  21. ระบบการจัดเก็บ ๑. หมวดที่ ๑ การเงินและงบประมาณ กำหนดให้เก็บเอกสารเกี่ยวกับการเงินทั้งหมด โดยมี หัวข้อดังนี้ งบประมาณ เงินเดือน ค่าจ้าง เงินสระสม เงินยืม เงินช่วยเหลือต่าง ๆ เช่น ค่าเล่าเรียน เงินค่าใช้สอย เช่น ค่าน้ำค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ เงินค่าตอบแทน เช่น ค่าเบี้ยประชุม ค่าทำการนอกเวลา เงินบำเหน็จ บำนาญ

  22. ระบบการจัดเก็บ ๒. หมวดที่ ๒ มติคณะรัฐมนตรี คำสั่ง ระเบียบ คู่มือ กำหนดให้จัดเก็บเอกสารเกี่ยวกับคำสั่ง ของฝ่าย กอง คำสั่งของหัวหน้าหน่วยงาน คำสั่งทั่วไป ระเบียบ ประกาศต่าง ๆ กฎหมาย พระราชบัญญัติกฎกระทรวง มติคณะรัฐมนตรี คู่มือ

  23. ระบบการจัดเก็บ ๓. หมวดที่ ๓ โต้ตอบ กำหนดให้เก็บเอกสารที่ไม่สามารถจัดเข้าหมวดเอกสาร อื่นใด ทั้ง ๙ หมวดได้ เช่น เรื่องการตอบขอบคุณ ในกรณี ได้รับบริจาค การขอความรวมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ การขอเข้าชมกิจการ ๔. หมวดที่ ๔ บริหารทั่วไป กำหนดให้จัดเก็บเอกสารเกี่ยวกับการแบ่งส่วนราชการ หน้าที่ความรับผิดชอบ เรื่องหรือคำสั่งที่มีลักษณะ เป็นการบริหารงาน การมอบอำนาจ

  24. ระบบการจัดเก็บ หมวดที่ ๕ บริหารบุคคล กำหนดให้จัดเก็บเอกสารเกี่ยวกับทะเบียนประวัติ การพิจารณาความดีความชอบ การบรรจุแต่งตั้ง การโอน การย้าย ลาออก ไล่ออก วินัยการ ยืมตัว การสอบเลื่อนขั้น การกำหนดตำแหน่ง หมวดที่ ๖ เบ็คเตล็ด กำหนดให้จัดเก็บเอกสารประเภทซึ่งไม่สามารถจัด เข้าหมวดใดหมวดหนึ่งที่ตั้งไว้เป็นพิเศษ และประมาณ เอกสารไม่มากพอที่เป็นหมวดใหม่

  25. ระบบการจัดเก็บ หมวดที่ ๗ การประชุม กำหนดให้จัดเก็บเรื่องเกี่ยวกับการประชุมทั่วไป ถ้าเป็น การประชุมเกี่ยวกับเรื่องตามหมวดที่กำหนดไว้ ให้นำไปเก็บ ตามหมวดนั้น เช่น การประชุมเกี่ยวกับงบประมาณให้เก็บใน แฟ้มงบประมาณ การประชุมเกี่ยวกับการพิจารณาโทษ ข้าราชการให้เก็บในแฟ้ม การบริหารงานบุคคล

  26. ระบบการจัดเก็บ ๘. หมวดที่ ๘ การฝึกอบรม บรรยาย ทุน และการดูงาน ให้จัดเก็บเอกสารประเภท การฝึกอบรม สัมมนา บรรยาย การรับทุนไปศึกษาต่างประเทศ ในประเทศหรือ ไปดูงาน ๙. หมวดที่ ๙ พัสคุ ครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง จัดเก็บเอกสารประเภท การจัดซื้อและจัดหาพัสดุ ครุภัณฑ์ สำนักงาน แบบแปลนสิ่งก่อสร้างทะเบียนทรัพย์สิน เอกสารประกวดราคาจ้างเหมาก่อสร้าง การแต่งตั้งกรรมการตรวจรับพัสดุ

  27. ระบบการจัดเก็บ ๑๐. หมวดที่ ๑๐ สถิติ และรายงาน ให้จัดเก็บเอกสารประเภทรายงานและสถิติต่าง ๆ เช่น รายงานการตรวจอาคาร รายงานการเกิด การตาย รายงาน การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง สถิติประชากร

  28. แนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่องแนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่อง หมวดที่ ๑ การเงิน งบประมาณ ๑.๑ ระเบียบการเงิน ๑.๑.๑ ระเบียบการเบิกเงินค่ารักษาพยาบาล ๑.๑.๒ ระเบียบการเบิกเงินค่าเช่าบ้าน ๑.๑.๓ .......................................................... ๑.๒ การเบิกจ่ายเงินเดือน ค่าจ้างประจำ ๑.๒.๑ ค่าจ้างชั่วคราว ๑.๒.๒ .......................................................... ๑.๒.๓ ..........................................................

  29. แนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่องแนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่อง ๑.๓ การเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทน ๑.๑.๑ เงินค่าล่วงเวลา ๑.๑.๒ ......................................................... ๑.๑.๓ .......................................................... ๑.๔ การเบิกเงินค่าใช้สอย ค่าสาธารณูปโภค ๑.๔.๑ เงินค่าน้ำ ๑.๔.๒ เงินค่าไฟฟ้า ๑.๔.๓ เงินค่าโทรศัพท์

  30. แนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่องแนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่อง ๑.๕ เงินอุดหนุน เงินช่วยเหลือ ๑.๕.๑ เงินค่ารักษาพยาบาล ๑.๕.๒ เงินค่าครองชีพ ๑.๕.๓ .......................................................... ๑.๖ เงินรายได้อื่น ๆ ๑.๖.๑ ............................................................ ๑.๖.๒ ........................................................... ๑.๖.๓ ...........................................................

  31. แนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่องแนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่อง ๑.๗ การมอบอำนาจในการอนุมัติเงิน ๑.๗.๑ .......................................................... ๑.๗.๒ ......................................................... ๑.๗.๓ .......................................................... ๑.๘ การเงินทั่วไป ๑.๘.๑ ........................................................... ๑.๘.๒ .......................................................... ๑.๘.๓ ..........................................................

  32. แนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่องแนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่อง ๑.๙ บัญชี และการตรวจสอบ ๑.๙.๑ .......................................................... ๑.๙.๒ ......................................................... ๑.๙.๓ .......................................................... ๑.๑๐ ระเบียบงบประมาณ ๑.๑๐.๑ ........................................................... ๑.๑๐.๒ .......................................................... ๑.๑๐.๓ ..........................................................

  33. แนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่องแนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่อง หมวดที่ ๒ คำสั่ง มติ ครม. ประกาศ ระเบียบ พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา คู่มือ ๒.๑ คำสั่งต่าง ๆ ๒.๑.๑ ...................................................................... ๒.๒ ระเบียบ ๒.๒.๑ ..................................................................... ๒.๓ พระราบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา ๒.๓.๑ ..................................................................... ๒.๔ ประกาศ ๒.๔.๑ ...................................................................... ๒.๕ คู่มือ ๒.๕.๑ ......................................................................

  34. แนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่องแนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่อง หมวดที่ ๓ โต้ตอบทั่วไป ขอความร่วมมือ ข่าวสาร ๓.๑ โต้ตอบทั่วไป ๓.๑.๑ สำเนาหนังสือออก ๓.๑.๒ ตอบขอบคุณ การรับบริจาคหนังสือ ๓.๒ การขอความร่วมมือ ๓.๒.๑ การขอความร่วมมือจากหน่วยงานภายใน ๓.๒.๒ การขอความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอก

  35. แนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่องแนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่อง หมวดที่ ๓ โต้ตอบทั่วไป ขอความร่วมมือ ข่าวสาร ๓.๓ ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ ๓.๓.๑ ข่าวสาร หนังสือพิมพ์ ๓.๓.๒ วารสาร จุลสาร ๓.๔ เวียนเพื่อทราบ ๓.๔.๑ เวียนภายใน ๓.๔.๒ เวียนภายนอก

  36. แนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่องแนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่อง หมวดที่ ๔ บริหารทั่วไป ๔.๑ การจัดตั้ง แบ่งส่วนราชการ หน้าที่ความรับผิดชอบ ๔.๑.๑.................................................................... ๔.๒ มอบหมาย มอบอำนาจ ๔.๒.๑ ปฏิบัติราชการแทน ๔.๒.๒ รักษาราชการแทน ๔.๓ กรรมการต่าง ๆ ๔.๓.๑.................................................................... ๔.๓.๒...................................................................

  37. แนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่องแนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่อง หมวดที่ ๔ บริหารทั่วไป ๔.๔ หลัก และการปฏิบัติงาน ๔.๔.๑ หลักปฏิบัติงาน ๔.๔.๒ การเดินทางไปราชการ ๔.๔.๓ เวรยาม ๔.๕ สถานที่ตั้ง หมายเลขโทรศัพท์ ๔.๕.๑ ................................................... ๔.๖ สมาคม ชมรม มูลนิธิ สโมสร ๔.๖.๑....................................................

  38. แนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่องแนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่อง หมวดที่ ๕ บริหารงานบุคคล ๕.๑ ระเบียบการบริหารงานบุคคล ๕.๑.๑ ............................................................. ๕.๒ รับสมัคร ๕.๒.๑ ............................................................ ๕.๓ การสอบบรรจุ แข่งขัน คัดเลือก ๕.๓.๑ ............................................................. ๕.๔ การกำหนดตำแหน่ง อัตราเงินเดือน อัตรากำลัง ๕.๔.๑ .............................................................

  39. แนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่องแนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่อง ๕.๕ แต่งตั้ง เลื่อนขั้น เลื่อนระดับ ปรับวุฒิ ๕.๕.๑ ............................................................... ๕.๖ โอน ย้าย ยืมตัว ๕.๖.๑ ................................................................ ๕.๗ การลาต่าง ๆ ๕.๗.๑ ............................................................... ๕.๘ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เหรียญ ความดีความชอบ ๕.๘.๑ ............................................................... ๕.๙ วินัย สอบสวน ๕.๙.๑ ................................................................

  40. แนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่องแนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่อง ๕.๑๐ ทะเบียนประวัติ ๕.๑๐.๑ .......................................................... ๕.๑๑ เกษียณ บำเหน็จ บำนาญ ๕.๑๑.๑ .......................................................... ๕.๑๒ ลูกจ้าง ๕.๑๒.๑ ........................................................ ๕.๑๓ สวัสดิการต่าง ๆ ๕.๑๓.๑ .......................................................... ๕.๑๔ หนังสือรับรองต่าง ๆ ๕.๑๔.๑ .........................................................

  41. แนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่องแนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่อง หมวดที่ ๖ เบ็ดเตล็ด ๖.๑ เบ็ดเตล็ดภายใน ๖.๒ เบ็ดเตล็ดภายนอก หมวดที่ ๗ ประชุม ๗.๑ ประชุมภายใน ๗.๑.๑ ประชุมกอง ๗.๑.๒ ประชุมคณะกรรมการ ๗.๒ ประชุมภายนอก ๗.๒.๑ ประชุมคณะกรรมการ ๗.๒.๒ ประชุมคณะอนุกรรมการ

  42. แนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่องแนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่อง หมวดที่ ๘ ฝึกอบรม ทุน ดูงาน บรรยาย วิทยากร ๘.๑ ทุน ฝึกอบรม ดูงาน ภายในประเทศ ๘.๑.๑ ทุนต่าง ๆ ๘.๒ ทุน ฝึกอบรม ดูงาน ต่างประเทศ ๘.๒.๑...................................................... หมวดที่ ๙ วัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง ๙.๑ จัดหา ๙.๑.๑ ขออนุมัติซื้อวัสดุ

  43. แนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่องแนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่อง ๙.๒ การควบคุม การเบิกจ่าย ๙.๒.๑ ทะเบียนคุมครุภัณฑ์ ๙.๒.๒ การเบิกจ่ายวัสดุ ๙.๓ การซ่อมแซม ดูแล บำรุง รักษา ๙.๓.๑ ........................................................................ ๙.๔ การจำหน่าย ๙.๔.๑ ........................................................................ หมวดที่ ๑๐ รายงานสถิติ ๑๐.๑ รายงานต่าง ๆ ๑๐.๑.๑ ....................................................................... ๑๐.๒ สถิติ ๑๐.๒.๑........................................................................

  44. แนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่องแนวทางการจัดหมวดหมู่เอกสารตามหัวเรื่อง ๑๐.๓ แบบสอบถาม ๑๐.๓.๑......................................................... หมวดที่ ๑๑ โครงการ แผนงาน วิจัย ๑๑.๑ โครงการต่าง ๆ ๑๑.๑.๑............................................................ ๑๑.๒ แผนงาน ๑๑.๒.๑ ........................................................... ๑๑.๓ การวิจัยต่าง ๆ ๑๑.๓.๑ .........................................................

  45. หมวดเอกสาร ลำดับที่ จัดเก็บที่ ชื่อแฟ้มเอกสาร บัญชีแฟ้มเอกสาร หมวดย่อย หมวดใหญ่

  46. หมวดเอกสาร ชื่อแฟ้มเอกสาร จัดเก็บที่ ลำดับที่ หมวดใหญ่ หมวดย่อย

  47. หมวดเอกสาร ชื่อแฟ้มเอกสาร จัดเก็บที่ ลำดับที่ หมวดใหญ่ หมวดย่อย

  48. หมวดเอกสาร ชื่อแฟ้มเอกสาร จัดเก็บที่ ลำดับที่ หมวดใหญ่ หมวดย่อย

  49. หมวดเอกสาร ชื่อแฟ้มเอกสาร จัดเก็บที่ ลำดับที่ หมวดใหญ่ หมวดย่อย

  50. หมวดเอกสาร ชื่อแฟ้มเอกสาร จัดเก็บที่ ลำดับที่ หมวดย่อย หมวดใหญ่

More Related