1 / 15

การแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคประชาชน (หนี้นอกระบบ) กองบริหารหนี้สินภาคประชาชน ฝ่ายกิจการนโยบายรัฐ

การแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคประชาชน (หนี้นอกระบบ) กองบริหารหนี้สินภาคประชาชน ฝ่ายกิจการนโยบายรัฐ. 1. หลักการและเหตุผลของโครงการ.

Download Presentation

การแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคประชาชน (หนี้นอกระบบ) กองบริหารหนี้สินภาคประชาชน ฝ่ายกิจการนโยบายรัฐ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคประชาชน(หนี้นอกระบบ)การแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคประชาชน(หนี้นอกระบบ) กองบริหารหนี้สินภาคประชาชนฝ่ายกิจการนโยบายรัฐ 1

  2. หลักการและเหตุผลของโครงการหลักการและเหตุผลของโครงการ รัฐบาลภายใต้การนำของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาโดยน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการแก้ปัญหาดังกล่าว เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2551 ได้แก่ “3. นโยบายสวัสดิการสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ 3.5.2 ปรับโครงสร้างหนี้ภาคประชาชน เพื่อนำไปสู่การลดหนี้หรือยืดเวลาชำระหนี้ หรือลดอัตราดอกเบี้ย หรือพักชำระดอกเบี้ย 4. นโยบายเศรษฐกิจ 4.2 นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ 4.2.1.10 แก้ไขปัญหาหนี้สิน ฟื้นฟูอาชีพและความเป็นอยู่ของเกษตรกร โดยเร่งดำเนินการจัดการหนี้สินของเกษตรกรทั้งในและนอกระบบ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อน และรักษาที่ดินทำกินให้แก่เกษตรกร ” 2

  3. หลักการและเหตุผลของโครงการ (ต่อ) รัฐบาลโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นายกรณ์ จาติกวณิช จึงได้มอบหมายให้ศูนย์อำนวยการปฏิบัติการแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคประชาชน (ศอก.นส.) กระทรวงการคลัง เป็นหน่วยงานหลักในการอำนวยการแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคประชาชน (หนี้นอกระบบ) โดยมอบหมายภารกิจให้ธนาคารของรัฐทั้ง 6 แห่ง ได้แก่ ธ.ก.ส. ธ.ออมสิน ธอส. ธพว. ธอท.และ ธ.กรุงไทย ดำเนินการให้ความช่วยเหลือประชาชนในการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบโดยให้ ธ.ก.ส. และ ธ.ออมสิน เป็นหน่วยงานรับขึ้นทะเบียนหนี้นอกระบบ รวมถึงการปรับทัศนคติในการดำรงชีวิตของผู้ขึ้นทะเบียน 3

  4. วัตถุประสงค์ของโครงการวัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อช่วยเหลือให้ประชาชนที่มีหนี้นอกระบบเข้าเป็นหนี้ในระบบ เพื่อช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ของประชาชนให้ลดลง เพื่อช่วยให้ประชาชนมีเงินเหลือจากการลดภาระการจ่ายดอกเบี้ยมาออมเงินและเพื่อใช้จ่ายในส่วนที่จำเป็น เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาอาชีพของประชาชนให้มีความเข้มแข็งและสามารถสร้างรายได้ที่มั่นคงให้แก่ประชาชน มีการดำรงชีพและประกอบอาชีพภายใต้แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมและกระตุ้นประชาชนให้มีการออมเงินเพื่อรักษาวินัยทางการเงินอันเป็นรากฐานที่สำคัญของครอบครัวและประเทศชาติ 4

  5. ระยะเวลาดำเนินการ เริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2552 ถึง 30 กันยายน 2554 รวมระยะเวลา 2 ปี กลุ่มเป้าหมายและคุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ • เป็นผู้มีสัญชาติไทย •  เป็นผู้บรรลุนิติภาวะ • เป็นลูกหนี้นอกระบบที่มีต้นเงินคงเป็นหนี้ไม่เกิน 200,000 บาท • เป็นหนี้ที่เกิดก่อนวันที่ 19 พฤศจิกายน 2552 •  เป็นหนี้ที่เกิดจากเหตุสุจริตและจำเป็น •  มีเอกสารประกอบการเป็นหนี้ 5

  6. การขึ้นทะเบียน (วันที่ 1-30 ธันวาคม 2552) ขึ้นทะเบียนทั่วประเทศ ทุกสาขาอาชีพ 1.ธนาคารออมสิน 2.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 6

  7. ขั้นที่ 9 ติดตามประเมินผล ขั้นตอน แผนการดำเนินงาน การแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคประชาชน (หนี้นอกระบบ) ขั้นที่ 8 การฟื้นฟูปรับแนวคิดในการดำเนินชีวิต ขั้นที่ 7 เข้าสู่การเป็นหนี้ในระบบ ขั้นที่ 6 การเจรจาประนอมหนี้ ขั้นที่ 5 ประชุมชี้แจงและตรวจสอบ ขั้นที่ 4 คัดแยกข้อมูลโดย กรมบัญชีกลาง ขั้นที่ 3 การขึ้นทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ ขั้นที่ 2 การประชาสัมพันธ์โครงการ ขั้นที่ 1 เตรียมความพร้อมโครงการ ปี 2554 กรกฎาคม 2553– 30 กันยายน 2554 กุมภาพันธ์ – กันยายน 2553 กุมภาพันธ์ – เมษายน 2553 มกราคม - มีนาคม 2553 มกราคม 2553 ธันวาคม 2552 พฤศจิกายน 2552 ตุลาคม 2552 7

  8. นิยามหนี้นอกระบบ หนี้นอกระบบ หมายถึง หนี้ซึ่งเจ้าหนี้ไม่ใช่สถาบันการเงินหรือสถาบันในระบบชุมชนหรือผู้ประกอบธุรกิจที่มิใช่สถาบันการเงิน ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทย ( อิออน อีซี่บาย แคปปิตอลโอเค จีอี แคปปิตอล เทสโก้ ฯลฯ) เช่น การกู้ยืมเงินระหว่างเพื่อนฝูงหรือญาติพี่น้อง หรือบุคคลทั่วไป หรือ นายทุน หรือเงินด่วนเสาไฟฟ้า 8

  9. นิยามสถาบันการเงิน 1.สถาบันการเงิน  สถาบันการเงินของรัฐเช่นธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ธนาคารออมสิน (ธ.ออมสิน) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (ธอท.) และธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) (ธ.กรุงไทย) ธนาคารพาณิชย์และนิติบุคคลผู้ประกอบธุรกรรมการเงินอื่น ๆ 9

  10. นิยามสถาบันการเงิน (ต่อ) 2.สถาบันในระบบชุมชนเช่นกองทุนหมู่บ้านกองทุนฟื้นฟูเกษตรกรกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตกลุ่มสัจจะออมทรัพย์เครดิตยูเนี่ยนสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร 3.ผู้ประกอบธุรกิจที่มิใช่สถาบันการเงิน ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ ธปท. ธุรกิจบัตรเครดิต ธุรกิจสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกำกับ 10

  11. กระบวนการแก้ไขหนี้นอกระบบ ประชาสัมพันธ์ คุณสมบัติผู้ขึ้นทะเบียนลักษณะหนี้และวงเงินที่รับพิจารณาระยะเวลา สถานที่ลงทะเบียนหลักฐานประกอบการเป็นหนี้และเอกสารที่เกี่ยวข้องวิธีการให้ความช่วยเหลือ ผู้รับผิดชอบ ศอก.นส. ขึ้นทะเบียนหนี้นอกระบบ และส่งข้อมูลให้ ศอก.นส. ธ.ก.ส. ธ.ออมสิน แบบขึ้นทะเบียนหนี้นอกระบบ (นบ.1)- บัตรประชาชน ที่ระบุเลขประจำตัวประชาชน - ทะเบียนบ้าน- เอกสารประกอบการเป็นหนี้ รวบรวมคัดแยกข้อมูลส่งให้ธนาคาร 6 แห่ง ศอก.นส. / กรมบัญชีกลาง ธนาคารของรัฐและ คกก.หมู่บ้าน/ชุมชน ประชุมชี้แจงและตรวจสอบ ขั้นตอนการให้ความช่วยเหลือจัดทำ Cashflow ยุติเรื่อง คณะเจรจาหนี้เจ้าหนี้,ลูกหนี้ หลักฐานประกอบการเป็นหนี้และเอกสารที่เกี่ยวข้อง แบบผลการเจรจาปรับโครงสร้างหนี้นอกระบบ (แบบนบ.2) ถอนความประสงค์ ฯลฯบันทึกแบบ นบ.2 เจรจาประนอมหนี้ 1.กลุ่มที่ไม่มีความสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ศอก.นส. คกก.หนี้สินระดับจังหวัด กลุ่ม จ/น,ล/น ตกลงไม่ได้ ฯลฯ 2.เจรจาสำเร็จ 3.เจรจาไม่สำเร็จ เจรจาสำเร็จ เจรจาไม่สำเร็จ ประสงค์เข้าสถาบันการเงินชุมชน ไม่ประสงค์เข้าธนาคาร(จ/น,ล/น ตกลงกันได้)ฯลฯ ประสงค์ เข้าธนาคาร กรณีกู้ไม่ได้ ธนาคารของรัฐ 11

  12. การเจรจาหนี้ • คณะทำงานแก้ไขปัญหาหนี้สินระดับจังหวัด มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน คลังจังหวัดเป็นเลขานุการ • คณะเจรจาหนี้ระดับอำเภอมีนายอำเภอเป็นประธาน ผู้แทนธนาคารเป็นเลขานุการ • ธนาคารที่เกี่ยวข้อง - ธ.ก.ส. - ธ.ออมสิน - ธพว. - ธอส. - ธ.อิสลาม - ธ.กรุงไทย 12

  13. การมอบหมายให้ธนาคารผู้รับผิดชอบลูกหนี้นอกระบบการมอบหมายให้ธนาคารผู้รับผิดชอบลูกหนี้นอกระบบ 13

  14. หลักเกณฑ์การให้สินเชื่อตามโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินนอกระบบหลักเกณฑ์การให้สินเชื่อตามโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินนอกระบบ (หลักเกณฑ์กลาง) 1. เป็นหนี้นอกระบบที่มีเงินต้นคงค้างไม่เกิน 200,000 บาทต่อราย และเป็นหนี้ที่เกิดก่อนวันที่ 19 พฤศจิกายน 2552 รวมทั้งเป็นหนี้ที่เกิดจากเหตุสุจริตและจำเป็น 2. ขึ้นทะเบียนตามระยะเวลาที่กำหนด (วันที่ 1-30 ธันวาคม 2552) 3. ต้องผ่านการเจรจาหนี้ของคณะเจรจาหนี้ 4. วงเงินให้กู้ไม่เกิน 200,000 บาท ต่อราย 5. อัตราดอกเบี้ย 5.1 อัตราดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 12 ต่อปีใน 3 ปีแรก 5.2 ธนาคารออมสินใช้อัตราดอกเบี้ยคงที่ไม่เกินร้อยละ 0.75 ต่อเดือน ตลอดระยะเวลาการกู้ 8 ปี 6. ระยะเวลาการผ่อนชำระไม่น้อยกว่า 8 ปี เว้นแต่ผู้กู้สมัครใจที่จะทำสัญญากู้น้อยกว่า 8 ปี 14 14

  15. 7. ผู้กู้สามารถชำระหนี้ก่อนกำหนดได้โดยไม่มีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ 8. หลักประกัน - วงเงินกู้ไม่เกิน 100,000 บาท ใช้ผู้ค้ำประกัน 1 คน - วงเงินกู้ตั้งแต่ 100,001-200,000 บาท ใช้ผู้ค้ำประกัน 2 คน ทั้งนี้ ผู้ค้ำประกันต้องมีรายได้รวมไม่น้อยกว่า 10% ของวงเงินกู้ กรณีของ ธ.ก.ส. ที่เป็นเกษตรกรค้ำประกัน - วงเงินกู้ไม่เกิน 100,000 บาท ใช้ผู้ค้ำประกัน 2 คน - วงเงินกู้ตั้งแต่ 100,001-200,000 บาท ให้ใช้หนังสือรับรอง รับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมไม่น้อยกว่า 5 คน 15 15

More Related