330 likes | 937 Views
พุทธศาสนาเถรวาท. รหัสวิชา 01388221 หมู่ 1. ประมวลการสอน ภาคปลาย ปีการศึกษา 255 6. 1. คณะ มนุษยศาสตร์ ภาควิชา ปรัชญาและศาสนา 2. รหัสวิชา 01388221 หมู่ 1 ชื่อวิชา ( ภาษาไทย ) พุทธศาสนาเถรวาท จำนวนหน่วยกิต 3 (3-3) ( ภาษาอังกฤษ ) Theravada Buddhism
E N D
พุทธศาสนาเถรวาท รหัสวิชา 01388221 หมู่ 1
ประมวลการสอน ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556 1. คณะมนุษยศาสตร์ภาควิชาปรัชญาและศาสนา 2. รหัสวิชา01388221 หมู่ 1ชื่อวิชา(ภาษาไทย) พุทธศาสนาเถรวาท จำนวนหน่วยกิต3 (3-3)(ภาษาอังกฤษ) Theravada Buddhism วิชาพื้นฐาน- หมวดวิชาเฉพาะบังคับ, เลือกเสรี วัน ศุกร์ เวลา 13.00 – 16.00 น. สถานที่ คณะมนุษยศาสตร์ 4 ห้อง 511
3. ผู้สอน อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์ชัชวาลย์ ชิงชัย อาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ
4. การให้นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน วัน วันอังคาร เวลา 09.00–11.00 น. โทรศัพท์ ภาควิชาฯ 0-2579-6525-6 ต่อ 114 ฝากข้อความ 101 แฟกซ์ 0-2942-8719 ภายใน 1439 ต่อ 1508 ต่อ 114 มือถือ 0812545515 , 0812458482 อีเมล์ fhumcwc@ku.ac.th เว็บไซต์ http://www.buddhism.iilc.ku.ac.th/chachawarn/chachawarn.html
5. จุดประสงค์ของวิชา 1. เพื่อให้รู้ความเป็นมาตลอดถึงพัฒนาการของพุทธศาสนา 2. เพื่อให้รู้คำสอนสำคัญของพุทธศาสนาอย่างถูกต้อง 3. เพื่อให้เห็นคุณค่าและความสำคัญของพุทธศาสนาที่มีต่อชีวิตและสังคม 4. เพื่อให้รู้ถึงอิทธิพลและบทบาทของพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย 5. เพื่อให้รู้จักนำหลักธรรมของพุทธศาสนาไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
6. คำอธิบายรายวิชา • กำเนิดและหลักธรรมสำคัญของพุทธศาสนา การแผ่ขยายเเละพัฒนาการ ความสัมพันธ์ระหว่างพุทธศาสนาเถรวาทกับชีวิต วิทยาศาสตร์และสังคมปัจจุบัน • Origin and important doctrines of Buddhism.Spread and development.The relation of Theravada Buddhism to life,science and present – day society.
8. เค้าโครงรายวิชา 1. กำเนิดพระพุทธศาสนา 1.1 พุทธประวัติ 6 ชั่วโมง 1.2 วิธีการของพระพุทธเจ้า 6 ชั่วโมง 2. การแผ่ขยายของพระพุทธศาสนา 6 ชั่วโมง 3. ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนาเถรวาท 3 ชั่วโมง
4. คำสอนสำคัญของพระพุทธศาสนาเถรวาท 4.1 ขันธ์ 53 ชั่วโมง 4.2 อริยสัจจ์ 43 ชั่วโมง 4.3 ไตรลักษณ์ 3 ชั่วโมง 4.4 ปฏิจจสมุปบาท 6 ชั่วโมง 5. พัฒนาการของระพุทธศาสนาเถรวาท 3 ชั่วโมง 6. ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนา 6 ชั่วโมง เถรวาทกับชีวิต วิทยาศาสตร์และสังคม รวม 45 ชั่วโมง
9. วิธีสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 1. การบรรยาย 2. อภิปรายและตอบปัญหา 3. ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเพื่อทำเป็นรายงาน 5. การสวดมนต์ ปฏิบัติสมาธิและวิปัสสนาที่บ้าน
9. อุปกรณ์สื่อการสอน 1. กระดานดำ 2. เครื่องฉายข้ามศีรษะ 3. วีดิทัศน์ 4. เพาเวอร์พ้อยท์ 5. เอกสารประกอบการบรรยาย 6. แผ่นดีวิทัศน์ประกอบการเรียน
10. การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน 10.1คะแนนเข้าเรียน 6 คะแนน - เข้าเรียน 6 คะแนน (ขาดเรียนหักครั้งละ 2 คะแนน) ถ้าขาดเรียน 1 ครั้ง ต้องไปปฏิบัติธรรม 1 ครั้ง จะได้คะแนนคืน 1 คะแนน 10.2 คะแนนความประพฤติเข้าเรียน 4 คะแนน 10.3 คะแนนปฏิบัติธรรม10 คะแนน - ปฏิบัติธรรม 6 ครั้งที่อาคารพุทธเกษตรโดย 4 ครั้งแรกให้ครั้งละ 2 คะแนนในครั้งที่ 5 และ 6 จะให้ครั้งละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน 10.4งานวิชาการเดี่ยว (ตามที่มอบหมาย)20คะแนน 10.5 สอบปลายภาค 60คะแนน รวม100คะแนน
?.. 11. การประเมินผลการเรียนอาจารย์ผู้สอนขอสงวนสิทธิ์ที่จะใช้เกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อความเหมาะสม
12. เอกสารอ่านประกอบ ชัชวาลย์ ชิงชัย. คู่มือปฏิบัติพระกรรมฐาน. กรุงเทพฯ : ภาควิชา ปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตร- ศาสตร์, 2544. (อัดสำเนา) ดร. เค เอ็น ชยติลเลเก. จริยศาสตร์แนวพุทธ. แปลและเรียบเรียงจาก Ethics in Buddhist Perspectiveโดย สุเชาวน์ พลอยชุม. กรุงเทพฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2532. พระ ดร. ดับบลิว ราหุล. พระพุทธเจ้าสอนอะไร. แปลและเรียบเรียง จาก What the Buddha taught โดย ชูศักดิ์ ทิพย์เกษร และ คณะ.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2532.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พุทธธรรม (ฉบับเดิม). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สหธรรมิก จำกัด, พิมพ์ครั้งที่ 15, 2544. พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). พุทธศาสนากับปรัชญา. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊ป, 2533. สุเชาวน์ พลอยชุม. พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก. กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2546. (อัดสำเนา) .พุทธศาสนาเถรวาท. กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญาและ ศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2537. (อัดสำเนา) สุนทร ณ รังษี. พุทธปรัชญาจากพระไตรปิฏก. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.
14. ตารางกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน
หมายเหตุ : โปรดเชื่อฟังและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด 1. แต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบ ฝ่าฝืนจะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าชั้นเรียน 2. อาจารย์จะปิดล็อกประตูและเริ่มสอนในเวลา 13.15 น. จะมีการเช็คชื่อผู้เข้าเรียนทุกครั้งนิสิตจะมีเฉพาะเข้าเรียนและขาดเรียนเท่านั้น ไม่มีสายเนื่องจากไม่สามารถเข้าห้องเรียนได้ 3. เก็บเครื่องมือสื่อสาร ใครฝ่าฝืนตัดคะแนนความประพฤติครั้งละ 2 คะแนน
4. รายละเอียดเรื่องต่าง ๆ มีดังนี้ • 4.1 เข้าเรียนครบทุกครั้งให้ 6 คะแนน ขาดเรียนตัดครั้งละ 2 คะแนน ขาดเรียนเกิน 3 ครั้งไม่มีสิทธิ์สอบ นิสิตสามารถใช้ใบลากิจและลาป่วยได้ แต่จะถูกหักคะแนนครั้งละ1 คะแนน นิสิตต้องมีเวลาเรียนไม่ต่ำกว่า 80 เปอร์เซ็นต์จึงจะมีสิทธิ์สอบ • 4.2 ปฏิบัติธรรม 6 ครั้งที่อาคารพุทธเกษตรโดย 4 ครั้งแรกให้ครั้งละ 2 คะแนน • ในครั้งที่ 5 และ 6 จะให้ครั้งละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน • 5. งานมอบหมายที่เป็นงานเดี่ยว ดังนี้ • 5.1 งานเดี่ยวตามที่มอบหมาย
ปรัชญาคณะมนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์มีปรัชญาการจัดการศึกษาที่เสริมสร้างบุคคลให้เป็นคนที่สมบูรณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีความเจริญทางสติปัญญา คุณค่าของจิตใจ การใช้วิจารณญาณอย่างรอบคอบและปรับตัวได้อย่างเหมาะสม
ปณิธานคณะมนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์มีปณิธานในการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ เพียบพร้อมด้วยความรู้ทางวิชาการและวิชาชีพที่ทันสมัย มีความใฝ่รู้ มีความคิดวิเคราะห์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตลอดจนเป็นบัณฑิตที่มีจริยธรรม คุณธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีแก่สังคมและดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ขึ้นชื่อว่าวิชาควรศึกษาทุกอย่างไปขึ้นชื่อว่าวิชาควรศึกษาทุกอย่างไป ศึกษาให้เข้าใจเป็นคุณเครื่องเรืองปัญญา แต่ว่าอย่าพึงใช้ทุกอย่างไปที่ศึกษา ชีวิตและเวลาเป็นปัญหาให้จำนน จะใช้วิชาใดจงใส่ใจในเหตุผล ทำใดต้องใจคนนั่นคือผลของวิชา
ขอให้ทุกคนจงโชคดี ตามสติกำลังของแต่ละคน