1 / 36

โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน

โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน. นำเสนอโดย. จำดี แป้นเหลือ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล. คำขวัญจังหวัดสตูล. สตูล สงบ สะอาด ธรรมชาติบริสุทธิ์. อาณาเขต. ทิศเหนือ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุงและอำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

Download Presentation

โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง • ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน

  2. นำเสนอโดย จำดี แป้นเหลือ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล

  3. คำขวัญจังหวัดสตูล สตูล สงบสะอาด ธรรมชาติบริสุทธิ์

  4. อาณาเขต ทิศเหนืออำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุงและอำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง ทิศใต้ รัฐเปอร์ลิส ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันออกอำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา และรัฐเปอร์ลิส ประเทศ มาเลเซีย ทิศตะวันตกทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย

  5. ข้อมูลทั่วไป จำนวนประชากร 290,967 คน ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป 100,181 คน

  6. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อตรวจคัดกรองความเสี่ยงด้านสุขภาพของประชาชน 2. เพื่อกำหนดมาตรการเชิงรุก และบริการที่เหมาะสมแก่ ประชาชน 3. เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนใส่ใจสุขภาพ 4. เพื่อสร้างระบบเฝ้าระวัง และป้องกันความเสี่ยง

  7. เป้าหมายการดำเนินงาน 1. ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรอง 2. ประชาชนที่ได้รับการตรวจทุกคน ได้รับการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมครบ วงจร ในเรื่องการดูแลตนเอง การได้รับบริการจากสถานบริการ ตลอดจนการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพในชุมชน 3. ประชาชนได้รับการเฝ้าระวัง และป้องกันความเสี่ยง และการเกิด ภาวะแทรกซ้อน อย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง 4. การพัฒนาหมู่บ้าน/ ชุมชนต้นแบบ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพเพื่อลดโรค

  8. ตัวชี้วัด ผลสำเร็จของโครงการ 1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน<ร้อยละ 5/ปี 2. อัตราเพิ่มการเข้ารับการักษาในโรงพยาบาล ลดลง ร้อยละ 3 3. ทุกสถานบริการมีหมู่บ้านต้นแบบการส่งเสริมและเฝ้า ระวังโรค จำนวน 1หมู่บ้าน/ชุมชน 4. ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรอง ร้อยละ 90 5. มีศูนย์บริหารจัดการฐานข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในจังหวัด

  9. แนวทางการดำเนินการ มี 2 แนวทางที่สำคัญ 1. การดำเนินการระดับบุคคล ( Individual approach ) 2. การดำเนินการระดับชุมชน ( Community approach )

  10. กลยุทธ์ 1. กลยุทธ์หลัก 1.1 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ - การตรวจสุขภาพเชิงรุก - การให้บริการในสถานบริการ

  11. 2. กลยุทธ์สนับสนุน 2.1 การขับเคลื่อนทางสังคม และสื่อสารสาธารณะ 2.2 การพัฒนาศักยภาพบุคคลกร และชุมชน การ จัดทำคู่มือต่างๆ 2.3 การจัดทำระบบติดตามประเมินผล ในรูปแบบ คณะกรรมการระดับจังหวัด ( NCD Board ) อำเภอและตำบล ตามลำดับ 2.4 การจัดทำระบบฐานข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

  12. ๓. กลยุทธ์ ๖ ร่วม ๑. ร่วมทีม : ทีมขับเคลื่อน ทีมดำเนินงาน ทีมติดตามประเมินผล ๒. ร่วมรับรู้ ร่วมรับผิดชอบ : นโยบายระดับกระทรวง ระดับเขต ระดับจังหวัด อำเภอ ระดับตำบลและชุมชนตามลำดับ ๓. ร่วมคิดร่วมวางแผน : วิเคราะห์ข้อมูล รู้ข้อมูลภาวะสุขภาพของประชาชนใน พื้นที่ ค้นหาแนวร่วมหรือทุนทางสังคม ๔. ร่วมทำร่วมสร้าง : ร่วมดำเนินการ เป็นระบบ แนวทางเดียวกัน ไม่ซ้ำซ้อน ๕. ร่วมกระต้น ติดตาม ประเมินผล : ตามระดับมาตรฐานที่วางไว้ ๖. ร่วมกันปรับปรุงและเปลี่ยนแปลง : คงไว้ซึ่งการดำเนินงานที่ดีมีประสิทธิภาพ และปรับปรุงเปลี่ยนแผนการดำเนินการใหม่ให้เหมาะสม

  13. การขับเคลื่อนในการดำเนินงานตามโครงการการขับเคลื่อนในการดำเนินงานตามโครงการ ๑. แต่งตั้งคณะกรรมการในการดำเนินงาน ๑.๑ คณะกรรมการ NCD Board มีนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเป็นประธาน คณะกรรมการจากในและนอกหน่วยงานสาธารณสุข หัวหน้างานโรคไม่ติดต่อเป็นเลขาฯ • จัดประชุม ๒ ครั้ง กระตุ้นติดตามในวาระการประชุม ประจำเดือนทุกเดือน

  14. การขับเคลื่อนโครงการ(ต่อ)การขับเคลื่อนโครงการ(ต่อ) ๑.๒ คณะกรรมการดำเนินงานโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน คณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกหน่วยงานสาธารณสุข นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเป็นประธาน • แจ้งและสร้างกระแสการดำเนินงานโครงการฯวันประชุมประจำเดือนของหัวหน้าส่วน

  15. การขับเคลื่อนโครงการ(ต่อ)การขับเคลื่อนโครงการ(ต่อ) ๑.๓ คณะกรรมการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร มีนายแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชกรรมป้องกันเป็นประธาน คณะกรรมการจากผู้รับผิดชอบงาน NCDระดับ สสอ. รพ. และผู้รับผิดชอบงาน NCD ระดับจังหวัดเป็นเลขาฯ • จัดประชุม ๔ ครั้ง

  16. ๒. เป็นนโยบายของนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ๒.๑ ต้องนำเสนอความก้าวหน้าในการดำเนินงาน วันประชุมประจำเดือนทุกเดือน ๒.๒ การคัดกรองกลุ่มเป้าหมายมากกว่าตัวชี้วัดของ กระทรวง(ร้อยละ ๙๐) ๒.๓ จัดตั้งคลินิก DPAC ทุกสถานบริการ ๒.๔ จัดให้มีชุมชนต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ ทุกสถานบริการและสนับสนุนให้ชุมชนนำร่องเพิ่มขึ้นอีก ๑๐ หมู่บ้าน

  17. ๓. เป็นตัวชี้วัดของผู้บริหาร • ใช้เป็นการประเมินหรือพิจารณาความดีความชอบประจำปี ของสาธารณสุขอำเภอและผู้อำนวยการโรงพยาบาลทุกแห่ง * ทำให้การดำเนินงานโครงการจึงเป็นรูปธรรมและเข้มข้น ทั้ง ๗ กิจกรรมตามโครงการ

  18. ๔. มีการวิเคราะห์สถานการณ์ • ทุกสถานบริการมีการวิเคราะห์สถานการณ์ และคืนข้อมูลให้พื้นที่ ให้ร่วมรับรู้ เพื่อความสะดวกในวางแผนการจัดการโรคและภาวะสุขภาพของประชาชน

  19. ๕. มีการจัดทำแผนและดำเนินการตามแผน * ทุกพื้นที่มีการจัดทำแผน ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และ แผนที่ตำบล

  20. ๖. กระตุ้นติดตามประเมินผลในการประชุม คณะกรรมการ NCD Board คณะกรรมการพัฒนาระบบข้อมูลฯ คณะกรรมการประชุมประจำเดือน

  21. ผลลัพธ์ที่ได้จาการดำเนินงานผลลัพธ์ที่ได้จาการดำเนินงาน ๑.มีคณะกรรมการในการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม ๓ คณะ และมีการประชุมติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ๒.มีการจัดกิจกรรมสร้างกระแสให้ประชาชนเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนทุกอำเภอด้วยสื่อหลากหลายช่องทาง เช่น ทางวิทยุชุมชน หอกระจายข่าว เสียงตามสาย เด็กนักเรียน ผู้นำต่างๆในชุมชน รถประชาสัมพันธ์ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ เอกสารแผ่นพับ เป็นต้น

  22. ๓. บูรณาการและร่วมรณรงค์ตรวจสุขภาพเชิงรุกให้ประชากรทั่วไป ผู้นำและผู้สูงอายุร่วมกับ อบจ.พบประชาชน ๖,๖๐๐ คน ๔. คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป คิดเป็น ร้อยละ ๘๒.๐๖ ๕. จัดอบรมให้ความรู้ในการจัดตั้งคลินิก DPAC และการใช้แผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ ๖. จัดอบรมให้ความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ๗. มีการจัดตั้งคลินิก DPAC ทุกสถานบริการ และเต็มรูปแบบนำ ร่องอำเภอละ ๒ แห่ง ยกเว้นอำเภอเมืองนำร่อง ๘ แห่ง

  23. ๘. รวบรวมนวตกรรมการสร้างสุขภาพและป้องกันโรคได้หลากหลายมากมาย ๙. พบและพัฒนาสถานที่ที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาพได้มากขึ้น หลายที่ ๑๐. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการติดตามเยี่ยมที่บ้านโดยทีมสห วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง ๑๑. ทุกโรงพยาบาลจัดตั้ง CCM และมี CPG ในการดูแลผู้ป่วย ๑๒. ผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและความเครียดเพื่อประเมินภาวะทางด้านสุขภาพจิต

  24. ๑๓. สามารถรวบรวมชมรมหรือกลุ่มรักษ์สุขภาพได้มากขึ้น ๑๔. มีชุมชนต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสถานบริการละ ๑ หมู่บ้าน/ชุมชน ๖๒ แห่ง และอำเภอนำร่องอีก ๑๐ หมู่บ้าน รวม ๗๒ แห่ง๑๕. ประชาชนทั้ง ๔ กลุ่ม ได้รับบริการอย่างเหมาะสมตามเกณฑ์ มาตรฐานการให้บริการ

  25. การขยายผลในอนาคต • นำนวตกรรมสุขภาพในชุมชนมาปรับใช้ให้ เกิดประโยชน์ • แลกเปลี่ยนเรียนรู้หมู่บ้านต้นแบบด้วยกัน • ทุกหมู่บ้านมีศูนย์เรียนรู้สุขภาพ • มีคลินิก DPAC เต็มรูปแบบทุกสถาน บริการ

  26. ปัจจัยสู่ความสำเร็จของโครงการปัจจัยสู่ความสำเร็จของโครงการ • ผู้บริหารให้ความสำคัญมาก มีการกระตุ้นติดตามอย่างต่อเนื่อง • เป็นนโยบายและตัวชี้วัด • มีคณะกรรมการขับเคลื่อนที่เข้มแข็งในการดำเนินงาน • ผู้รับผิดชอบงานทุกระดับมีความเข้มแข็ง รับผิดชอบและมีความรักผูกพันสามัคคี • ชื่อโครงการโดนใจประชาชนและหน่วยงานทำให้ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี

  27. การดำเนินงานให้บริการการดำเนินงานให้บริการ กลุ่มเป้าหมาย 4 กลุ่ม 1. กลุ่มปกติ 2. กลุ่มเสี่ยง 3. กลุ่มป่วย 4. กลุ่มป่วย+ภาวะแทรกซ้อน

  28. หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง 1. ชุมชน/อสม. 2. สอ./รพ.สต. 3. รพช. 4. รพท./รพศ.

  29. กิจกรรมที่สำคัญในการดำเนินการของชุมชน / อสม.

  30. กิจกรรมที่สำคัญในการดำเนินการของสอ./รพ.สต.กิจกรรมที่สำคัญในการดำเนินการของสอ./รพ.สต.

  31. กิจกรรมที่สำคัญในการดำเนินการของ รพช.

  32. กิจกรรมที่สำคัญในการดำเนินการของ รพท.

  33. ผลการดำเนินการตามโครงการฯผลการดำเนินการตามโครงการฯ 1. การตรวจสุขภาพเชิงรุกทุกสถานบริการร่วมกับ อบจ.(โครงการอบจ.พบประชาชน) 2. การให้คำปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คลินิก DPAC 3. บริการตรวจรักษากลุ่ม Good control 4. การค้นหาภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ เช่น ตา ไต หัวใจ เท้า 5. การรักษาตามภาวะแทรกซ้อนของโรคฯ

  34. ผลการดำเนินงานคัดกรองความดันและเบาหวาน(35 ปีขึ้นไป)

  35. ผลการดำเนินงานตามโครงการฯผลการดำเนินงานตามโครงการฯ

More Related