1 / 44

วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา

วิชาพุทธปรัชญา บทที่ ๒ พื้นฐานพุทธปรัชญา ๑) พื้นฐานความเชื่อของอินเดียก่อนเกิดพุทธปรัชญา ๒) ปรัชญาร่วมสมัยกับพุทธปรัชญา ๓) ประวัติพระพุทธเจ้า ๔) พระพุทธเจ้าสอนอะไร ๕) สาขาของพุทธปรัชญา

padvee
Download Presentation

วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พุทธปรัชญาเถรวาท บทที่ ๒ พื้นฐานพุทธปรัชญา

  2. ขอบข่ายเนื้อหา • ๑) พื้นฐานความเชื่อของอินเดียก่อนเกิดพุทธปรัชญา • ๒) ปรัชญาร่วมสมัยกับพุทธปรัชญา • ๓) ประวัติพระพุทธเจ้า • ๔) พระพุทธเจ้าสอนอะไร • ๕) สาขาของพุทธปรัชญา

  3. พื้นฐานความเชื่อของอินเดียก่อนเกิดพุทธปรัชญาพื้นฐานความเชื่อของอินเดียก่อนเกิดพุทธปรัชญา • สังคมอินเดียในยุคโบราณยกย่อความศักดิ์สิทธิ์ของคัมภีร์พระเวท ศึกษาได้เฉพาะชนชั้นสูง คือ กษัตริย์และพราหมณ์เท่านั้น

  4. พื้นฐานความเชื่อของอินเดียก่อนเกิดพุทธปรัชญาพื้นฐานความเชื่อของอินเดียก่อนเกิดพุทธปรัชญา • ห้ามคนชั้นต่ำคือศูทรศึกษาพระเวท • ถ้าเจตนาฟังการสาธยายพระเวท จะถูกลงโทษด้วยการเอาคลั่งกรอกหู • หรือถ้าสาธยายพระเวทจะถูกตัดลิ้น • ถ้าจำความในคัมภีร์พระเวทได้จะถูกผ่าร่างกายออกเป็น ๒ ซีก

  5. พื้นฐานความเชื่อของอินเดียก่อนเกิดพุทธปรัชญาพื้นฐานความเชื่อของอินเดียก่อนเกิดพุทธปรัชญา • ประเด็นความเชื่อที่พัฒนามาจากคัมภีร์พระเวทมีดังนี้ ๑. ความเชื่อเรื่องเทพเจ้า ๒. ความเชื่อเกี่ยวกับโลกและชีวิตหลักงความตาย ๔. การยึดถือพิธีกรรม ๓. ความเชื่อเรื่องโชครางและไสยศาสตร์ ๕. การแบ่งชนชั้นในสังคม ๖. ลักษณะวิถีชีวิต

  6. ๑. ความเชื่อเรื่องเทพเจ้า • พระพรหมเป็นผลของการวิวัฒนาการจากยุคความเชื่อในคัมภีร์พระเวทมาสู่ยุคศาสนาพราหมณ์ • พระพรหมคือผู้สร้างโลกและสรรพสิ่งรวมทั้งมนุษย์ • พระพรหมมีอำนาจสูงสุด แม้กระทั่งชะตาชีวิตของมนุษย์ก็ถูกพระพรหมเป็นผู้กำหนดไว้ล่วงหน้า ที่เรียกว่า “พรหมลิขิต”

  7. ๒. ความเชื่อเกี่ยวกับโลกและชีวิตหลังความตาย • อุจเฉททิฏฐิเชื่อว่าไม่มีอะไรที่เที่ยงแท้ ทุกสิ่งไม่มีอยู่จริง แม้กระทั่งความดีความชั่ว • สัสสตทิฏฐิเชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างเที่ยงแท้ ไม่มีอะไรดับสูญ

  8. โลกหน้ามีจริงหรือไม่ ?

  9. ๓. ความเชื่อเรื่องโชครางและไสยศาสตร์ • การทายลักษณะผ้า • การทายลักษณะดาบ • การทายลักษณะกุมาร • การทายลักษณะธนู • การพยากรณ์ปรากฏการณ์ต่างๆ • การดูฤกษ์งามยามดี-ยามร้าย ฯลฯ

  10. ๔. การยึดถือพิธีกรรม • การบูชายัญเกิดจากคติความเชื่อเรื่อง “พรหมสหายตา” หมายถึงความเป็นสหายของพรหม การเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพรหมด้วยวิธีการใช้สัตว์มาบูชายัญเทพเจ้า เพื่อหวังให้เทพเจ้าดลบาลความสุขมาให้ทั้งในชีวิตนี้และชีวิตหน้า

  11. Animal Sacrifice

  12. กุมภเมลา(Kembhamela)

  13. ๕. การแบ่งชนชั้นในสังคม

  14. ๖. ลักษณะวิถีชีวิต วิถีการดำเนินชีวิตของชาวอินเดียยึดถือตามหลัก “อาศรม ๔” ๑. พรหมจารี ๒. คฤหัสถ์ ๓. วนปรัสถ์ ๔. สันยาสี

  15. อาศรม ๔ (ในคัมภีร์มนูธรรมศาสตร์) • ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ได้แบ่งขั้นตอนของชีวิตออกเป็น ๔ ขั้น • ๑. พรหมจารี ขั้นตอนของชีวิตที่ยังศึกษาเล่าเรียนในสำนักของอาจารย์ • ๒. คฤหัสถ์ การครองเรือนโดยการแต่งงานและตั้งครอบครัว • ๓. วนปรัสถ์ขั้นตอนการแยกจากครอบครัว เพื่อไปปฏิบัติธรรมในป่า • ๔. สันยาสี : เป็นขั้นตอนสุดท้ายของชีวิต เป็นผู้ครองเพศบรรพชิต สละชีวิตทางโลกโดยสิ้นเชิง อุทิศตนในการแสวงหาความจริงเกี่ยวกับชีวิต

  16. ปรัชญาร่วมสมัยกับพุทธปรัชญาปรัชญาร่วมสมัยกับพุทธปรัชญา

  17. ปรัชญา ๖ สำนัก • นอกจากการดำเนินชีวิตตามหลักพราหมณ์แล้ว ในสมัยพุทธกาลยังมีแนวคิดต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อสังคมอยู่มาก • ในบันทึกของศาสนาเชน มีลัทธิต่างๆ ถึง ๓๖๓ ลัทธิ • ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนากล่าวถึงเพียง ๖๒ ลัทธิ • สำหรับลัทธิสำคัญ ที่ปรากฏใน สามัญญผลสูตร มี ๖ ลัทธิ

  18. ตัวอย่างแนวคิด ปรัชญา ๖ สำนัก • มักขลิโคศาล ปูรณกัสสปะ • ปกุธกัจจายนะ สภาวะ ๗ กอง คือ กองดิน กองน้ำ กองไฟ กองลม สุข ทุกข์ ชีวะ นี้ ไม่มีใครทำหรือเนรมิต มีอยู่ยั่งยืนไม่แปรปรวน ไม่มีผู้กระทำการใด ๆ ต่อกัน แม้การเอามีดตัดศีรษะกันก็ไม่มีผู้ใดฆ่าใคร เป็นแต่เอามีดผ่านช่องระหว่างสภาวะ ๗ กองนี้เท่านั้น เชื่อว่า บุญ บาป ไม่มี ทุกอย่างที่ทำไปแล้วไม่ว่าดีหรือชั่วเมื่อจบสิ้นแล้วย่อมแล้วกันไป ไม่มีผลตอบสนองภายหลัง เชื่อว่า สุข ทุกข์ ความดี ความชั่ว เป็นสิ่งที่เกิดเองโดยธรรมชาติ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตหนึ่งๆ เป็นเรื่องของการโชคดีและเคราะห์ร้าย ไม่เกี่ยวกับกรรมดีและกรรมชั่วแต่อย่างใด

  19. ตัวอย่างแนวคิด ปรัชญา ๖ สำนัก นิครนถนาฏบุตร • อชิตเกสกัมพล • สัญชัยเวลัฏฐบุตร มีความเชื่อไม่แน่นอน ซัดส่ายไหลลื่นเหมือนปลาไหล ปฏิเสธว่า อย่างนี้ก็ไม่ใช่อย่างนั้นก็ไม่ใช่ ไม่ยอมรับและไม่ยืนยันอะไรทั้งหมด เชื่อว่าการทรมานกายว่าเป็นทางไปสู่ความพ้นทุกข์ มีความเป็นอยู่เข้มงวดกวดขันต่อร่างกาย เช่น อดข้าว อดน้ำ ตากแดด ตากลม ไม่นุ่งห่มผ้า ความเป็นอยู่หรือเป็นไปของสัตว์ทั้งหลาย ไม่มีเหตุ ไม่มีปัจจัย ย่อมเป็นไปเอง ไม่อยู่ในวิสัยที่จะทำให้เป็นไปอย่างใดอย่างหนึ่งได้ แม้การที่จะบรรลุถึงความพ้นทุกข์สิ้นเชิง ในวัฏสงสารนี้ ก็เป็นไปเอง มิใช่ด้วยการกระทำใด ๆ เป็นเหตุ

  20. ประวัติพระพุทธเจ้า • เจ้าชายสิทธัตถะ ประสูติเมื่อ วันเพ็ญ ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ก่อน พ.ศ.๘๐ ปี เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะแห่งกรุงกบิลพัสดุ์ • ท่านทรงได้รับการเลี้ยงดูทนุถนอมอย่างดี ปรนเปรอด้วยความสำราญอย่างเต็มที่ เพื่อหวังจะให้เป็นพระจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่สืบต่อพระบิดา มิใช่เป็นพระศาสดาตามคำทำนาย

  21. คราวหนึ่ง เจ้าชายได้มีโอกาสไปชมบ้านเมืองด้านนอกวังและได้พบกับ คนแก่ คนเจ็บคนตาย จึงบังเกิดความสลดสังเวชกับความจริงที่พบ...จึงใคร่ครวญแสวงหาความพ้นทุกข์ และน้อมพระทัยไปในการบวช

  22. ในที่สุดท่านจึงตัดสินพระทัยออกผนวชเป็นบรรพชิตที่ริมฝั่งแม่น้ำอโนมา เมื่อพระชน มายุ ๒๙ พรรษา

  23. ท่านทรงพยายามศึกษาปฏิบัติหลากหลายวิธีเพื่อการพ้นทุกข์ รวมทั้งการทรมานตนเองด้วย (ทุกรกิริยา) เป็นเวลา ๖ ปี • ในที่สุด ท่านดำริได้ว่า การทรมานตนเองมิใช่ทาง ตรัสรู้ เปรียบเสมือนสายพิณที่ขึงตึงเกินไป ดังนั้น จึงควรปฏิบัติบำเพ็ญเพียรทางจิตด้วยความพอดี(มัชฌิมาปฏิปทา)

  24. กระทั่งวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี ท่านประทับนั่งใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ แคว้นมคธ ป.อินเดีย และตั้งสัตยาธิษฐานว่า • “ถ้ายังไม่ได้ตรัสรู้พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ..จักไม่เสด็จลุกขึ้นจากบัลลังก์...ถึงแม้ว่าเนื้อและเลือดในกายจักเหือดแห้งไปก็ตามที”

  25. จนกระทั่งปัจฉิมยามของวันนั้น พระองค์ได้เกิดปัญญาญาณ ตรัสรู้พระธรรม “อริยสัจ ๔” บรรลุถึงการดับกิเลส และพ้นทุกข์โดยสิ้นเชิง...และทรงได้พระนามว่า..“พระสัมมาสัมพุทธเจ้า” ขณะมีพระชนมายุได้ ๓๕ พรรษา

  26. พระพุทธเจ้าสอนอะไร?

  27. พระพุทธเจ้าสอนอะไร? • “...โลกตั้งอยู่บนกองทุกข์..... เรา ตถาคต แสดงแต่เรื่อง ทุกข์ และความดับทุกข์ เท่านั้น” • “...เรื่องที่เราสอน ก็คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค..เพราะประกอบด้วยประโยชน์ เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ เป็นไปเพื่อความหน่ายคลายกำหนัด ดับ สงบ รู้ยิ่ง ตรัสรู้ และนิพพาน”

  28. พระพุทธเจ้าสอนอะไร? • สอนให้มองโลกตามความเป็นจริง • ....สิ่งแรกที่มนุษย์ควรทำ คือ การมองความจริงและทำความรู้จักกับสิ่งต่างๆ ตามที่มันเป็น และเข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ ด้วยความรอบรู้และเข้าใจ เพื่อให้มีทุกข์น้อยที่สุด หรือ ไม่มีทุกข์เลย • พระพุทธเจ้าสอนมุ่งให้คนเกิดปัญญา....และเมื่อรู้แล้วก็ควรนำไปปฏิบัติเพื่อเกิดปร ะโยชน์แก่ชีวิต คือ ดับทุกข์ได้

  29. สาขาของพุทธปรัชญา

  30. หลังจากที่พระพุทธเจ้า ปรินิพพานได้ ๓ เดือน ได้มีการสังคายนาธรรมวินัยใหม่ และอีก ๑๐๐ ปี ต่อมาได้เกิดความขัดแย้งในเรื่องการแปลความหมายของธรรมวินัย และมีภิกษุบางส่วนย่อหย่อนต่อพระวินัย จึงมีการสังคายนาครั้งที่ ๒ ซึ่งนำไปสู่ความขัดแย้งทางความคิด...

  31. สาขาของพุทธปรัชญา นิกายเถรวาท (หีนยาน) นิกายเถรวาท (หีนยาน) • เป็นนิกายดั้งเดิม ยึดถือหลักพระธรรมวินัยที่ได้สังคายนาไว้เมื่อพุทธปรินิพพาน ได้ ๓ เดือน เจริญอยู่ทางตอนใต้ของอินเดีย ได้แพร่หลายไปยังประเทศเอเชียใต้ เช่น ศรีลังกา พม่า ไทย ลาว และเขมร เป็นต้น นิกายมหายาน นิกายมหายาน เป็นนิกายที่แยกออกมาใหม่ ยึดถือหลักธรรมตามการตีความใหม่ และการปฏิบัติของอาจารย์ตน เจริญอยู่ตอนเหนือของอินเดีย ได้แพร่เข้าไปสู่ประเทศธิเบต จีน เกาหลี เวียดนามและญี่ปุ่น

  32. เถรวาท มหายาน

  33. ความแตกต่างระหว่างเถรวาทและมหายานความแตกต่างระหว่างเถรวาทและมหายาน

  34. เถรวาทตอบอย่างไร? มหายานตอบอย่างไร? พระอรหันต์ตายแล้วเกิด หรือไม่เกิด ?

  35. เมื่อนิพพานมี ที่ตั้งของนิพพานก็น่าจะมี ?

  36. เอกสารอ้างอิง วิโรจ นาคชาตรี. พุทธปรัชญาเถรวาท. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ รามคำแหง, ๒๕๔๗. สุเชาวน์ พลอยชุม. พุทธปรัชญาเถรวาทในสุตตันตปิฎก. กรุงเทพฯ : ม.เกษตรศาสตร์, ๒๕๔๘. เดือน คำดี. พุทธปรัชญา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, ๒๕๓๕.

  37. ติดตามผลงานอื่นๆ ของเราได้ที่ www.padvee.com Education for all.

More Related