400 likes | 599 Views
ไฟฟ้า. ชุดที่ 4 แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย. เอกสารอ้างอิง. แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2551-2564 ( Power Development Plan 2007 Revision 2 หรือ PDP 2007 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 ). เอกสารอ้างอิง.
E N D
ไฟฟ้า ชุดที่ 4 แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย
เอกสารอ้างอิง • แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2551-2564 (Power Development Plan 2007 Revision 2 หรือ PDP 2007 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2)
เอกสารอ้างอิง แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2573 (Power Development Plan 2010หรือ PDP 2010) 3
แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า • แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า หรือ Power development plan (PDP) ของไทยจัดทำโดย กฟผ. และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง • PDP คือแผนการก่อสร้างโรงไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ เพื่อให้มีกำลังผลิตไฟฟ้า ในเวลาที่เหมาะสม เพื่อสนองความต้องการใช้ไฟฟ้าใน 10 - 20 ปีข้างหน้า
วัตถุประสงค์ที่ใช้ในการวางแผนวัตถุประสงค์ที่ใช้ในการวางแผน • เพื่อให้ได้แผนที่มีต้นทุนต่ำสุดในการผลิตพลังงานไฟฟ้า • เพื่อให้การผลิตพลังงานไฟฟ้ามีคุณภาพและระบบไฟฟ้ามีความมั่นคงอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด • มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตามที่กฎหมายกำหนด
ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ ผลการศึกษา เบื้องต้น นโยบาย Optimization โดย Computer Software “Strategist” ข้อมูลระบบไฟฟ้า พยากรณ์ ความต้องการไฟฟ้า ข้อมูลเชื้อเพลิง กระทรวงพลังงาน
ข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน PDP • นโยบายพลังงานของประเทศ • ข้อมูลระบบกำลังผลิตไฟฟ้าในปัจจุบัน • ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าระยะยาว • ข้อมูลเชื้อเพลิง
ข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน PDP • นโยบายพลังงานของประเทศ • ข้อมูลระบบกำลังผลิตไฟฟ้าในปัจจุบัน • ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าระยะยาว • ข้อมูลเชื้อเพลิง
นโยบายพลังงานของประเทศ นโยบายพลังงานของประเทศ • ไฟฟ้าต้นทุนต่ำสุด • ทุกคนทั่วประเทศได้มีโอกาสใช้ไฟฟ้า • ระบบไฟฟ้ามีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และมั่นคง • มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย • ใช้พลังงานหมุนเวียนในประเทศมากขึ้น และกระจายชนิดเชื้อเพลิง
ข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน PDP • นโยบายพลังงานของประเทศ • ข้อมูลระบบกำลังผลิตไฟฟ้าในปัจจุบัน • ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าระยะยาว • ข้อมูลเชื้อเพลิง
กำลังผลิตแยกตามประเภทโรงไฟฟ้ากำลังผลิตแยกตามประเภทโรงไฟฟ้า 29,891.7เมกะวัตต์ กำลังผลิตติดตั้งรวม (ณ 31 ธันวาคม 2551) พลังความร้อนร่วม15,602.0 MW 52.2% พลังความร้อน8,965.6 MW 30.0% พลังน้ำ 3,424.2 MW 11.5% พลังงานทดแทน288.1 MW 0.9% กังหันแก๊สและเครื่องยนต์ดีเซล 971.4 MW 3.3% สายส่งเชื่อมโยง มาเลเซีย 300 MW 1.0% สปป. ลาว 340 MW 1.1% ความต้องการไฟฟ้าสูงสุด (21เมษายน 2551) 22,568.2 เมกะวัตต์
กำลังผลิตแยกตามผู้ผลิตกำลังผลิตแยกตามผู้ผลิต กำลังผลิตติดตั้งรวม (ณ 31 ธันวาคม 2551) 29,891.7เมกะวัตต์ ความต้องการไฟฟ้าสูงสุด (21เมษายน 2551) 22,568.2 เมกะวัตต์ กฟผ.15,021.0 MW50.3% IPP 12,151.6 MW 40.7% SPP2,079.1 MW7.0% สายส่งเชื่อมโยง มาเลเซีย 300 MW 1.0% สปป. ลาว 340 MW 1.1%
การผลิตพลังงานไฟฟ้า ปี2551 (แบ่งตามประเภทเชื้อเพลิง) รวมพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อ 148,197ล้านหน่วย พลังงานทดแทน1.4% ถ่านหินนำเข้า 8.2% น้ำมันเตา1.0% ก๊าซธรรมชาติ 70.0% ลิกไนต์12.6% พลังน้ำ4.7% ดีเซล 0.2 % สปป. ลาว 1.6% มาเลเซีย 0.3 % 13
การผลิตพลังงานไฟฟ้า ปี2551 (แบ่งตามผู้ผลิต) รวมพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อ 148,197ล้านหน่วย กฟผ. 63,909GWh 43 % IPP, SPP 81,497 GWh 55 % ซื้อต่างประเทศ 2,791GWh 2 %
การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ในระบบ กฟผ. น้ำมันเตา9 MW0.4% ถ่านหิน370 MW 17.8% ก๊าซธรรมซาติ1,413 MW 68.0% น้ำมันยางดำ25 MW1.2% แกลบและเศษไม้169 MW 8.1% กากอ้อย84 MW 4.0% ทะลายปาล์ม9 MW0.4% (ณ วันที่ 31ธ.ค. 2551) SPP-Firm : กำลังผลิตไฟฟ้าตามสัญญา : 2,079 MW แกลบและเศษไม้5 MW2.5% น้ำมันเตา45 MW21.8% กากอ้อย82 MW 39.5% ก๊าซธรรมชาติที่เป็นผลพลอยได้จากการผลิตน้ำมัน2 MW0.8% ก๊าซธรรมซาติ52 MW25.3% ถ่านหิน14 MW 6.8% ขยะ1 MW 0.5% SPP-Non Firm : กำลังผลิตไฟฟ้าตามสัญญา : 206 MW Waste Gas6 MW2.9% 15
ข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน PDP • นโยบายพลังงานของประเทศ • ข้อมูลระบบกำลังผลิตไฟฟ้าในปัจจุบัน • ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าระยะยาว • ข้อมูลเชื้อเพลิง
ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าระยะยาวค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าระยะยาว • คณะอนุกรรมการการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ได้จัดทำค่าพยากรณ์โดยจัดทำเป็นสามกรณีคือ กรณีฐาน กรณีต่ำ และกรณีสูง (แบ่งตามแนวโน้มการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจไทย) • นำค่าพยากรณ์การผลิตพลังไฟฟ้าสูงสุดและพลังงานไฟฟ้า (กรณีฐาน) มาใช้ประกอบในการจัดทำ PDP
PDP 2007 PDP 2010
ข้อสังเกต • คาดการณ์ว่าค่าสูงสุดในการผลิตพลังไฟฟ้าสูงสุดและผลิตพลังงานไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยอัตราการเพิ่มเฉลี่ยอยู่ประมาณ 3% ถึง 6%(ใกล้เคียงกับประมาณการณ์การเจริญเติบโตของ GDP ที่ใช้ในการพยากรณ์ในกรณีฐาน)
ข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน PDP • นโยบายพลังงานของประเทศ • ข้อมูลระบบกำลังผลิตไฟฟ้าในปัจจุบัน • ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าระยะยาว • ข้อมูลเชื้อเพลิง
ข้อสังเกต • ราคาเชื้อเพลิงไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก เชื้อเพลิงบางชนิดมีราคาคงที่ (เช่นน้ำมันดีเซล) • นิวเคลียร์มีราคาเชื้อเพลิงที่ต่ำที่สุด
ผลการศึกษาเกี่ยวกับ แผนการผลิตไฟฟ้าที่เหมาะสมในอนาคต
สัดส่วนกำลังผลิตไฟฟ้าแยกตามผู้ผลิตสัดส่วนกำลังผลิตไฟฟ้าแยกตามผู้ผลิต (PDP2007 : ฉบับปรับปรุงครั้งที่2)
สัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าแยกตามประเภทเชื้อเพลิงสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าแยกตามประเภทเชื้อเพลิง ล้านหน่วย 5% 3% 2% 2% 10% 10% 9% 2% 9% 2% 8% 15% 2% 16% 7% 17% 3% 18% 7% 3% 6% 19% 6% 6% 15% 3% 7% 11% 6% 2% 7% 11% 2% 7% 7% 2% 8% 8% 10% 6% 5% 9% 10% 9% 9% 8% 8% 10% 11% 11% 11% 60% 63% 61% 62% 69% 68% 65% 61% 69% 73% 70% 69% 67% 4% 4% 4% 3% 3% 3% 3% 3% 3% 2% 2% 2% 2% ปี (PDP 2007 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2)
ข้อสังเกตสำหรับ PDP2010 • ก๊าซธรรมชาติยังเป็นเชื้อเพลิงที่สำคัญที่สุด แต่มีสัดส่วนลดลงเหลือ 40% ใน 20 ปีข้างหน้า • ใช้เชื้อเพลิงถ่านหินนำเข้า (clean coal technology) • ซื้อไฟฟ้าจากเพื่อนบ้านในสัดส่วนสูงขึ้น • ใช้พลังงานหมุนเวียนเพิ่มขึ้น ในสัดส่วนคงที่ที่ 6%
ข้อสังเกต • เริ่มใช้นิวเคลียร์ในปี 2563 ทยอยเพิ่มรวมเป็น 5000 MW(ในปี 2554 รัฐบาลอภิสิทธิ์ได้เลื่อนกำหนดการเริ่มใช้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ออกไปอีก 2 ปี) • อาศัยเชื้อเพลิงนำเข้าในสัดส่วนที่มากขึ้น เช่น ถ่านหิน ไฟฟ้าพลังน้ำ และก๊าซธรรมชาติ
ระดับความมั่นคง (Reliability Level) • กำลังผลิตติดตั้ง (Installed Capacity) กำลังผลิตติดตั้ง หรือ กำลังผลิตที่ปรากฏอยู่บน Name Plate • Derated Capacity กำลังผลิตที่ลดลงของเครื่อง ซึ่งเครื่องไม่สามารถเดินได้เต็มกำลัง • กำลังผลิตพึ่งได้ (Dependable Capacity) กำลังผลิตพึ่งได้ เป็นกำลังผลิตที่ขึ้นอยู่กับสภาพของเครื่องหรือสภาวะแวดล้อม สำหรับโรงไฟฟ้าพลังน้ำกำหนดจากการศึกษาข้อมูลสถิติน้ำที่ไหลเข้าเขื่อน • กำลังผลิตไฟฟ้าสำรอง (Reserve Margin) (%) Dependable Capacity = Installed Capacity – Derated Capacity Reserve Margin =Total Dependable Capacity - Peak x 100Peak
ข้อกำหนดเรื่องความมั่นคงข้อกำหนดเรื่องความมั่นคง • กำลังผลิตไฟฟ้าสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 15% • ตัวชี้วัดโอกาสไฟฟ้าดับ (Loss of Load Probability: LOLP) ไม่เกิน 24 ชั่วโมงต่อปี
การรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้านการรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน
การรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้านการรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน
การรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้านการรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน