110 likes | 242 Views
แนวคิดประชากรศาสตร์เพื่อการเฝ้าระวัง. อ.วิชัย รูปขำดี คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของบริบทการพัฒนา. สถานการณ์ด้านประชากร ประชากรโลก 2543 = 6.1 พันล้านคน ไทย = 1 % ปี 2568 = 7.8 พันล้านคน อัตราเพิ่มเฉลี่ย = 70 ล้านคน/ปี
E N D
แนวคิดประชากรศาสตร์เพื่อการเฝ้าระวังแนวคิดประชากรศาสตร์เพื่อการเฝ้าระวัง อ.วิชัย รูปขำดี คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของบริบทการพัฒนาแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของบริบทการพัฒนา สถานการณ์ด้านประชากร ประชากรโลก 2543 = 6.1 พันล้านคน ไทย = 1 % ปี 2568 = 7.8 พันล้านคน อัตราเพิ่มเฉลี่ย = 70 ล้านคน/ปี มีประเทศไทยเพิ่มทุกปี
2.ลักษณะการอยู่อาศัย ชนบท : เมือง ปัจจุบัน 60 : 40 2568 40 : 60 เรียกว่า “Hyper urbanization” ปัญหาสังคม การบริการของเมืองไทย ไม่เพียงพอ
3. คุณภาพและความมั่นคงของมนุษย์ 1) เกิดช่องว่างระหว่างกลุ่มคนในการสื่อสาร (Communication gap) 2) เกิดช่องว่างทางความรู้ (Digital divide) 3) ประเทศพัฒนาแล้วเป็นสังคมฐานความรู้ (Knowledge based society) 4) ปัญหาจากทรัพยากรธรรมชาติขาดแคลน 5) ภัยจากการขัดแย้ง&การก่อการร้าย 6) เกิดโรคใหม่ที่ยังไม่มีการป้องกันมาก่อน 7) สงครามเศรษฐกิจและสงครามตัวแทน
4. ประชากรไทย 1) อัตราเจริญพันธุ์ 2507 = 6.3คน 2543 = 1.8 คน (เด็ก0-14ปี) 2523 40% 2543 20% 2558 20% 2) วัยทำงาน(15-59ปี) เพิ่มจาก 54% เป็น 66%
4. ประชากรไทย (ต่อ) • ผู้สูงอายุ (60ปี +) 2523 = 5.4% 2543 = 9.5% 2558 = 13.8%
4.ประชากรไทย (ต่อ) 4) การปันผลทางประชากร (Demographic divide) =ช่วงที่ประเทศมีโครงสร้างคนแก่น้อย คนวัยทำงานมาก เป็นช่วงทองของการพัฒนา ประเทศไทยเหลือราว 10 ปี รวม สิงค์โปร์ เวียดนาม ประเทศที่เหลืออีก 3 ทศวรรษ มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย พม่า ประเทศที่เหลืออีก 4-5 ทศวรรษ ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์
คุณภาพของประชากร • มิติทางด้านสุขภาพ • มิติทางด้านความรู้ความสามารถ • มิติทางด้านชีวิตความเป็นอยู่ • มิติทางด้านค่านิยม จริยธรรม และพฤติกรรมของคนในสังคม
สิ่งแวดล้อม การใช้น้ำมัน
สิ่งแวดล้อม (ต่อ) 1) Global Warming และการเปลี่ยนแปลงในภูมิอากาศ 2) Biodiversity 3) น้ำเสีย 4) น้ำไม่พอ 5) ป่าไม้ 6) ขยะล้น
พฤติกรรมผู้บริโภค • ค่านิยมเลียนแบบ ตามทฤษฎี Emulation • ประเทศใหญ่คุมสื่อ ตามทฤษฎี Culture imperialism • มีการผลิตซ้ำทางสังคม Cultural reproduction แก่คนประเทศด้อยพัฒนา • มีการส่งออกทางวัฒนธรรม (Cultural related export)