790 likes | 1.21k Views
คุรุสภา. การดำเนินงานรับรองปริญญา และประกาศนียบัตรทางการศึกษา. ดร. จักรพรรดิ วะทา เลขาธิการคุรุสภา. อำนาจหน้าที่ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย. คุรุสภาดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ที่กำหนด ในพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษาพ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๙ (๗).
E N D
การดำเนินงานรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษาการดำเนินงานรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษา ดร. จักรพรรดิ วะทา เลขาธิการคุรุสภา
อำนาจหน้าที่ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายอำนาจหน้าที่ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คุรุสภาดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ที่กำหนดในพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษาพ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๙ (๗) “ให้คุรุสภามีอำนาจหน้าที่รับรองปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรของสถาบัน ต่าง ๆ ตามมาตรฐานวิชาชีพ”
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง พ.ร.บ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๙(๗) ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง สาระความรู้ และสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพฯ ประกาศคุรุสภา เรื่อง การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตร ทางการศึกษาเพื่อการประกอบวิชาชีพ
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง(ต่อ)กฎหมายที่เกี่ยวข้อง(ต่อ) ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง หลักเกณฑ์คุณสมบัติของสถานศึกษาสำหรับปฏิบัติการสอน ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง หลักเกณฑ์การรับรองมาตรฐาน ประสบการณ์วิชาชีพครูตามหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต วิชาชีพครู
หลักการของการให้การรับรองหลักการของการให้การรับรอง คุรุสภาดำเนินการให้การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษา เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพได้
วัตถุประสงค์ ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ปริญญาหลักสูตร ๕ ปี ต่อใบอนุญาตสำหรับครูที่ไม่มีวุฒิทางการศึกษา ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู โดยผ่านการรับรองประสบการณ์วิชาชีพตามที่คุรุสภากำหนด ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู ต่อใบอนุญาตสำหรับครูที่ไม่มีวุฒิทางการศึกษา
วัตถุประสงค์ (ต่อ) ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา โดยมีเงื่อนไขการผ่านการฝึกอบรมตามที่คุรุสภากำหนด ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการบริหารการศึกษา ต่อใบอนุญาตสำหรับผู้บริหาร ที่ไม่มีวุฒิทางการบริหารการศึกษา
การกำหนดหลักเกณฑ์ ประชุมทางวิชาการกำหนดหลักเกณฑ์ ๘ ครั้ง นำเสนอคณะอนุกรรมการรับรองคุณวุฒิ ๔ ครั้งและเทียบประสบการณ์ ประชุมคณบดีคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ๓ ครั้งชี้แจงหลักเกณฑ์ และนำเสนอความเห็นเพื่อปรับปรุงให้นำไปปฏิบัติได้
คณะกรรมการคุรุสภาให้ความเห็นชอบและให้นำไปจัดทำเป็นกฎหมายประกาศใช้ ในการประชุมครั้งที่ ๑๓/๒๕๔๘ วันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๔๘ ประชุมผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมายเพื่อพิจารณา ร่างประกาศคุรุสภา ให้ถูกต้องตามหลักของกฎหมาย ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน ๒๕๔๙ จำนวน ๕ ครั้ง ประธานกรรมการคุรุสภาลงนามในประกาศ วันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๔๙ ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๙
ปริญญา / ประกาศนียบัตรที่ให้การรับรองตามประกาศคุรุสภา ๑. ปริญญาตรีทางการศึกษา (หลักสูตร ๕ ปี) ๒. ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู ๓. ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการบริหารการศึกษา
เกณฑ์การรับรอง ปริญญาตรีทางการศึกษา (หลักสูตร ๕ ปี) ประกอบด้วย ๑. มาตรฐานหลักสูตร ๒. มาตรฐานการผลิต ๓. มาตรฐานบัณฑิต
๑. มาตรฐานหลักสูตร รวม ๑๖๐ หน่วยกิต ๑.๑ โครงสร้างของ หลักสูตร หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต หมวดวิชาชีพครู ๕๐ หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะด้าน ๗๔ หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต
หมวดวิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า ๕๐ หน่วยกิต ๑. ความรู้วิชาชีพครู ๑. ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู๒. การพัฒนาหลักสูตร๓. การจัดการเรียนรู้๔. จิตวิทยาสำหรับครู๕. การวัดและประเมินผลการศึกษา๖. การบริหารจัดการในชั้นเรียน๗. การวิจัยทางการศึกษา๘. นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา๙. ความเป็นครู
๒. ประสบการณ์วิชาชีพ การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ
๓. สมรรถนะของครูที่ต้องการ คือ ทักษะการจัดการเรียนรู้ ทักษะทางภาษาและการสื่อสาร ทักษะกระบวนการคิด ทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ คุณธรรมและจริยธรรม การใฝ่รู้ใฝ่เรียน การบำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม
๑. มาตรฐานหลักสูตร (ต่อ) กระบวนการร่างหลักสูตร ๑.๒ กระบวนการพัฒนาหลักสูตร คุณสมบัติของคณะกรรมการร่างหลักสูตร การพัฒนา หรือ การปรับปรุงหลักสูตร
๒. มาตรฐานการผลิต ๒.๑ กระบวนการคัดเลือกนิสิต นักศึกษา ๒.๒ คุณสมบัติของบุคคลที่รับผิดชอบ(อ.ที่ปรึกษา อ.ผู้สอนวิชาชีพครู อ. นิเทศก์ และครูพี่เลี้ยง) ๒.๓ ทรัพยากร(ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ และแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้)
๒. มาตรฐานการผลิต(ต่อ) ๒.๔ ระบบการจัดการเรียนรู้และการบริหารจัดการ(การบริหารหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ การจัดการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา และการจัดกิจกรรมเสริมความเป็นครู) ๒.๕ การประกันคุณภาพการศึกษา
๓. มาตรฐานบัณฑิต ๓.๑ ความรู้ ๓.๒ การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ๓.๓ การปฏิบัติตน ๓.๔ การพัฒนาคุณลักษณะความเป็นครู
ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครูประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
เกณฑ์การรับรอง ประกอบด้วย ๑ มาตรฐานหลักสูตร ๒ มาตรฐานการผลิต ๓ มาตรฐานผู้สำเร็จการศึกษา
๑. มาตรฐานหลักสูตร ๑.๑ โครงสร้างของหลักสูตร มีจำนวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า ๒๔ หน่วยกิตโดยศึกษาวิชาชีพครูตามมาตรฐานความรู้ ๙ มาตรฐาน ตามที่กำหนดในข้อบังคับคุรุสภา ไม่รวมการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๑ ปี
ความรู้วิชาชีพครูดังต่อไปนี้ความรู้วิชาชีพครูดังต่อไปนี้ ๑. ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู๒. การพัฒนาหลักสูตร๓. การจัดการเรียนรู้๔. จิตวิทยาสำหรับครู๕. การวัดและประเมินผลการศึกษา๖. การบริหารจัดการในชั้นเรียน๗. การวิจัยทางการศึกษา๘. นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา๙. ความเป็นครู
สมรรถนะของครูที่ต้องการ คือ ทักษะการจัดการเรียนรู้ ทักษะทางภาษาและการสื่อสาร ทักษะกระบวนการคิด ทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ คุณธรรมและจริยธรรม การใฝ่รู้ใฝ่เรียน การบำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม
๑. มาตรฐานหลักสูตร (ต่อ) ๑.๒ กระบวนการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการร่างหลักสูตร คุณสมบัติของคณะกรรมการร่างหลักสูตร การพัฒนา หรือการปรับปรุงหลักสูตร
๒. มาตรฐานการผลิต ๒.๑ กระบวนการคัดเลือกนิสิต นักศึกษา ๒.๒ คุณสมบัติของบุคคลที่รับผิดชอบ(อ.ที่ปรึกษา อ.ผู้สอนวิชาชีพครู) ๒.๓ ทรัพยากร(ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ และแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้)
๒. มาตรฐานการผลิต ๒.๔ ระบบการจัดการเรียนรู้และการบริหารจัดการ(การบริหารหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ การจัดการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน และการจัดกิจกรรมเสริมความเป็นครู) ๒.๕ การประกันคุณภาพการศึกษา
๓. มาตรฐานผู้สำเร็จการศึกษา ๓.๑ ความรู้ ๓.๒ การปฏิบัติตน ๓.๓ การพัฒนาคุณลักษณะความเป็นครู
ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการบริหารการศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการบริหารการศึกษา
๑. มาตรฐานหลักสูตร ๑.๑ โครงสร้างของหลักสูตร มีจำนวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า ๒๔ หน่วยกิต โดยศึกษาวิชาชีพทางการบริหารสถานศึกษาและการบริหารการศึกษา ตามข้อบังคับคุรุสภา
ก.มาตรฐานความรู้ผู้บริหารสถานศึกษา ดังนี้ ๑. หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา๒. นโยบายและการวางแผนการศึกษา๓. การบริหารด้านวิชาการ๔. การบริหารด้านธุรการ การเงิน พัสดุ และอาคารสถานที่๕. การบริหารงานบุคคล๖. การบริหารกิจการนักเรียน๗. การประกันคุณภาพการศึกษา๘. การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ๙. การบริหารการประชาสัมพันธ์และความสัมพันธ์ชุมชน๑๐. คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
ข. มาตรฐานความรู้ผู้บริหารการศึกษา ดังนี้ ๑. หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา๒. นโยบายและการวางแผนการศึกษา๓. การบริหารจัดการการศึกษา๔. การบริหารทรัพยากร๕. การประกันคุณภาพการศึกษา๖. การนิเทศการศึกษา๗. การพัฒนาหลักสูตร๘. การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ๙. การวิจัยทางการศึกษา๑๐. คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้บริหารการศึกษา
๑. มาตรฐานหลักสูตร(ต่อ) กระบวนการร่างหลักสูตร ๑.๒ กระบวนการพัฒนาหลักสูตร คุณสมบัติของคณะกรรมการร่างหลักสูตร การพัฒนา หรือการปรับปรุงหลักสูตร
๒. มาตรฐานการผลิต ๒.๑ กระบวนการคัดเลือกนิสิต นักศึกษา ๒.๒ คุณสมบัติของบุคคลที่รับผิดชอบ (อ.ที่ปรึกษา และ อ.ผู้สอน) ๒.๓ ทรัพยากร (ห้องเรียน และแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้) ๒.๔ ระบบการจัดการเรียนรู้และการบริหารจัดการ (การบริหารหลักสูตร และกระบวนการจัดการเรียนรู้) ๒.๕ การประกันคุณภาพการศึกษา
๓. มาตรฐานผู้สำเร็จการศึกษา ๓.๑ ความรู้ ๓.๒ การปฏิบัติตน ๓.๓ การพัฒนาคุณลักษณะความเป็นผู้นำ
การดำเนินงานรับรอง ปริญญาประกาศนียบัตรทางการศึกษาเพื่อการประกอบวิชาชีพ
ขั้นตอนการดำเนินการให้การรับรองขั้นตอนการดำเนินการให้การรับรอง ๑. สถาบันยื่นคำร้องพร้อมจัดส่งเอกสารประกอบ ดังนี้ คำร้องขอรับการประเมิน หลักฐานแสดงการได้รับอนุมัติหลักสูตรจากสภามหาวิทยาลัย และ รับทราบ/เห็นชอบจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เอกสารหลักสูตร ตารางวิเคราะห์เนื้อหาความรู้ตามรายวิชาเทียบกับ สาระความรู้ตามมาตรฐานที่คุรุสภากำหนด เอกสารแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับมาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานการผลิต และมาตรฐานบัณฑิต เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนการดำเนินการให้การรับรองขั้นตอนการดำเนินการให้การรับรอง ๒. สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา เสนอรายชื่อคณะอนุกรรมการประเมินเพื่อการรับรอง เสนอคณะกรรมการคุรุสภาแต่งตั้ง ให้ทำหน้าที่ประเมิน มาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานการผลิต
ขั้นตอนการดำเนินการให้การรับรองขั้นตอนการดำเนินการให้การรับรอง ๓. คณะอนุกรรมการ ดำเนินการประเมิน มาตรฐานหลักสูตรและมาตรฐานการผลิต โดย พิจารณาจากเอกสาร ประเมินสภาพจริงของสถาบัน สรุปผลการประเมินเสนอคณะกรรมการคุรุสภา
ขั้นตอนการดำเนินการให้การรับรองขั้นตอนการดำเนินการให้การรับรอง ๔. คณะกรรมการคุรุสภาพิจารณา ให้การรับรองมาตรฐานหลักสูตรและมาตรฐานการผลิต หรือ ให้สถาบันปรับปรุงให้เป็นไปตามเกณฑ์ภายในระยะเวลา ที่กำหนด
ขั้นตอนการให้การรับรอง ๕. สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ดำเนินการ จัดทำประกาศคุรุสภาแจ้งให้สถาบันทราบ กรณี ให้การรับรอง แจ้งให้สถาบันดำเนินการ ภายในระยะเวลาที่กำหนด กรณี ให้ปรับปรุงแก้ไข
ขั้นตอนการดำเนินการให้การรับรองขั้นตอนการดำเนินการให้การรับรอง ๖. สถาบันดำเนินการ ประเมินมาตรฐานบัณฑิต หรือมาตรฐานผู้สำเร็จการศึกษา ตามเกณฑ์การรับรองที่คุรุสภากำหนด เพื่อให้ครบ องค์ประกอบของเกณฑ์การรับรองตามประกาศคุรุสภา เสนอชื่อผู้สำเร็จการศึกษาในแต่ละปีการศึกษาต่อคุรุสภา ประกอบการพิจารณาขึ้นทะเบียนใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพ
ผู้ประเมินประกอบด้วย มาตรฐานหลักสูตร ประเมิน ๑. คุรุสภา มาตรฐานการผลิต มาตรฐานบัณฑิต หรือ มาตรฐานผู้สำเร็จการศึกษา ประเมิน ๒. สถาบัน
คณะอนุกรรมการประเมินมาตรฐานหลักสูตรคณะอนุกรรมการประเมินมาตรฐานหลักสูตร และมาตรฐานการผลิต แต่งตั้งโดย คณะกรรมการคุรุสภา จำนวน๕ คน ประกอบด้วย ประธาน มีความรู้และประสบการณ์ด้านบริหารจัดการศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ โดยตำแหน่งไม่ต่ำกว่า ผศ.หรือดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งทางการบริหาร ในระดับอุดมศึกษาไม่ต่ำกว่าคณบดีหรือเทียบเท่า
อนุกรรมการจำนวนไม่น้อยกว่า ๔ คน เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ หรือเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการการศึกษา ด้านวิชาการ หรือด้านการนิเทศการศึกษาในระดับอุดมศึกษา และพนักงานเจ้าหน้าที่คุรุสภา ๑ คน เป็นเลขานุการ
หน้าที่ของคณะอนุกรรมการหน้าที่ของคณะอนุกรรมการ ๑. ประเมินเพื่อการรับรองปริญญา ประกาศนียบัตร บัณฑิตวิชาชีพครู หรือประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการ บริหารการศึกษา๒. พิจารณาเปรียบเทียบมาตรฐาน องค์ประกอบ และรายละเอียดอื่น ๆ ในกรณีที่สถาบันจัดการศึกษา ที่ต่างจากมาตรฐานที่กำหนด๓. ขอข้อมูลเพิ่มเติม หรือให้สถาบันชี้แจงรายละเอียดเพิ่มเติม ประกอบการพิจารณา
ระยะเวลาของการรับรอง ๕ ปี “มาตรฐานหลักสูตร”และ“มาตรฐานการผลิต” ของแต่ละสถาบันให้มีอายุการรับรอง ๕ ปีนับแต่วันที่คุรุสภาประกาศ และให้สถาบันยื่นขอรับการประเมินก่อนสิ้นสุดระยะเวลาการรับรอง ไม่น้อยกว่า ๑๘๐ วัน
การประเมินมาตรฐานบัณฑิต ตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษา (หลักสูตร ๕ ปี) ให้สถาบันประเมินตามเกณฑ์การประเมินที่กำหนด (ความรู้ การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา การปฏิบัติตน การพัฒนาคุณลักษณะความเป็นครู) ให้สถาบัน ประเมินการปฏิบัติการสอน โดย ๑. กำหนดสถานศึกษาสำหรับปฏิบัติการสอน(คุณสมบัติของสถานศึกษาตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการคุรุสภากำหนด)๒. ให้มีคณะผู้ประเมินไม่น้อยกว่า ๓ คน แต่ไม่เกิน ๕ คน๓. กำหนดแบบประเมินการปฎิบัติการสอน
การประเมินมาตรฐานบัณฑิต ตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษา (หลักสูตร ๕ ปี) การกำหนดสถานศึกษาสำหรับปฏิบัติการสอน ๑.มีมาตรฐานคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการคุรุสภา กำหนด๒. ผ่านการประเมินและได้มาตรฐานของ สมศ.๓. กรณี ไม่เป็นไปตาม ข้อ ๑ และ ๒ ให้เสนอ คณะกรรมการคุรุสภาให้ความเห็นชอบเป็นรายกรณี