750 likes | 1.03k Views
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม. K hon. ระดับอุดมศึกษา. K aen. U niversity. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ( องค์กรมหาชน). วัตถุประสงค์ของการประเมิน. วัตถุประสงค์ทั่วไป. เพื่อให้ทราบระดับคุณภาพของสถานศึกษาในการดำเนินภารกิจต่างๆ
E N D
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม Khon ระดับอุดมศึกษา Kaen • University สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน)
วัตถุประสงค์ของการประเมินวัตถุประสงค์ของการประเมิน วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อให้ทราบระดับคุณภาพของสถานศึกษาในการดำเนินภารกิจต่างๆ เพื่อกระตุ้นเตือนให้สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทราบความก้าวหน้าของพัฒนาการคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อรายงานระดับคุณภาพและพัฒนาการในด้านคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาต่อสาธารณชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์ของการประเมินวัตถุประสงค์ของการประเมิน วัตถุประสงค์เฉพาะ เพื่อตรวจสอบยืนยันสภาพจริงในการดำเนินงานของสถานศึกษา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ช่วยสะท้อนความแตกต่างของแต่ละสถานศึกษาที่แสดงถึงอัตลักษณ์ รวมทั้งผลสำเร็จของการดำเนินการ เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพและพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษามีทิศทางที่สอดคล้องกันในการประเมินคุณภาพภายนอกกับการประเมินคุณภาพภายใน เพื่อสร้างความร่วมมือและมีเป้าหมายร่วมกัน เชื่อมโยงการดำเนินงานอยู่การพัฒนาคุณภาพร่วมกัน เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพ และประสิทธิภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษาให้ทราบโดยทั่วกัน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ สถานศึกษามีการบริหารจัดการ และใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล สถานศึกษา หน่วยงานบริหารการศึกษา และรัฐบาล มีข้อมูลที่ถูกต้องเป็นระบบในการกำหนดนโยบาย วางแผน และบริหารจัดการการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องเข้าสู่ระดับมาตรฐานสากล และมีความจำเป็นเลิศทางวิชาการ ตามอัตลักษณ์ของสถาบันอุดมศึกษา
หลักการพัฒนาตัวบ่งชี้หลักการพัฒนาตัวบ่งชี้ มุ่งการประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบมากกว่าการประเมินปัจจัยนำเข้าและกระบวนการ ให้ความสำคัญกับลักษณะและประเภทของสถานศึกษา (สิ่งที่มี สิ่งที่เป็นไปได้ และสิ่งที่เป็นหัวใจ เน้นตัวบ่งชี้ทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ตระหนักถึงความสำคัญของปัจจัย ข้อจำกัด ตลอดจนวัฒนธรรมและความเป็นไทย มีตัวบ่งชี้พื้นฐานเท่าที่จำเป็น โดยเพิ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ และตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม คำนึงถึงความเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในและการประกันคุณภาพภายนอก
ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอกความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก
ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ประเมินอิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา ประเมินคุณภาพภายนอกจากผลการจัดการศึกษาเป็นหลัก ตาม ม. 51 โดยให้น้ำหนัก 75% ใช้ข้อมูลเฉลี่ย 3 ปี ประเมินโดยวิธีการและข้อมูล ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพโดยพิชญพิจารณ์ (Peer Review ) ประเมินโดยการยืนยันรายงานการประเมินตนเองที่ถูกต้องเชื่อถือได้ เพื่อกระตุ้นให้การประกันคุณภาพภายในมีความเข้มแข็ง ลดจำนวนตัวบ่งชี้ และจำนวนมาตรฐานสำหรับการประเมินภายนอก โดยถ่ายโอนตัวบ่งชี้และมาตรฐานเกี่ยวกับปัจจัยนำเข้าและกระบวนการให้อยู่ในระบบการประกันคุณภาพภายใน
ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับอุดมศึกษา
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน (15 ตัวบ่งชี้) เป็นตัวบ่งชี้ที่ประเมินภายใต้ภารกิจหลักของสถานศึกษา บนพื้นฐานที่ทุกสถานศึกษาต้องปฏิบัติได้ ชี้ผลลัพธ์และผลกระทบได้ดี มีความเชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพภายใน
ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ( 1 ตัวบ่งชี้) • ตัวบ่งชี้ที่ประเมินผลผลิตของสถาบันอุดมศึกษาตาม • ปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา • ความสำเร็จตามจุดเน้น จุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนความเป็นเอกลักษณ์ ของสถานศึกษา • ได้รับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย
ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ( 2 ตัวบ่งชี้) ตัวบ่งชี้ที่ประเมินผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยด้านการชี้แนะ ป้องกันหรือแก้ปัญหาของสังคม มหาวิทยาลัยเป็นผู้กำหนดแนวทางพัฒนาเพื่อร่วมกันชี้แนะ ป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมตามนโยบายของรัฐ มหาวิทยาลัยต้องเลือกนำเสนอผลการดำเนินการ 2 ประเด็น และผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสามารถปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาหรือปัญหาของสังคมที่เปลี่ยนไป
ข้อมูลการดำเนินงานที่ใช้ประกอบการพิจารณา ใช้ผลการดำเนินงานเฉลี่ย ย้อนหลัง 3 ปี ก่อนปีที่ประเมิน ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ ใช้ผลการดำเนินงาน 1 ปี ก่อนปีที่ประเมิน ตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพ ***ข้อมูลผลการดำเนินงานส่วนใหญ่ใช้ตามปีการศึกษา ยกเว้นบางตัวบ่งชี้มีการจัดเก็บข้อมูลตามปีปฏิทินให้ใช้ข้อมูลตามปีปฏิทิน
วิธีการนับ • การนับจำนวนบทความจากผลงานวิจัยหรือผลงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ • นับได้เฉพาะ Article หรือ Conference Paper หรือ Review เท่านั้น • บทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการนับได้เฉพาะที่เป็น Full Paper • นับตามปีปฏิทิน หรือปีงบประมาณ หรือปีการศึกษา อย่างใดอย่างหนึ่งตามระบบการจัดเก็บข้อมูลของมหาวิทยาลัย • การตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ที่มากกว่า 1 ครั้ง ให้นับได้เพียง 1 ผลงาน
วิธีการนับ • การนับจำนวนผลงานวิจัยหรือผลงานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ • นับจากวันที่นำผลงานฯ มาใช้และเกิดผลชัดเจน โดยที่ผลงานฯ นั้น จะดำเนินการในช่วงเวลาใดก็ได้ • ช่วงเวลาที่ใช้จะเป็นตามปีปฏิทิน หรือปีงบประมาณ หรือปีการศึกษา อย่างใดอย่างหนึ่งตามระบบเก็บข้อมูลของมหาวิทยาลัย • กรณีที่มีการนำไปใช้ประโยชน์มากกว่า 1 ครั้ง ให้นับได้เพียง 1 ครั้ง ยกเว้นมีการใช้ประโยชน์แตกต่างกันชัดเจนตามมิติของการใช้ประโยชน์ที่ไม่ซ้ำกัน
วิธีการนับ • การนับจำนวนผลงานทางวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ • นับผลงานฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบของบทความวิชาการในวารสารวิชาการระดับชาติและ/หรือนานาชาติ หนังสือ ตำราทางวิชาการ โดยผ่านการพิจารณาจาก คกก.ผู้ทรงคุณวุฒิก่อนการตีพิมพ์ • ผลงานจะต้องเกินร้อยละ 50 ของชิ้นงาน • กรณีตีพิมพ์มากกว่า 1 ครั้ง ให้นับเพียง 1 ครั้งต่องานวิชาการ 1 ชิ้น
วิธีการนับ • การนับจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย • ให้นับอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อในแต่ละปีการศึกษา ตามเงื่อนไข ดังนี้ • กรณีมีระยะเวลาทำงาน 9 เดือนขึ้นไป ให้นับเป็น 1 คน • กรณีมีระยะเวลาทำงาน 6 – 9 เดือน ให้นับเป็น 0.5 คน • กรณีมีระยะเวลาทำงานน้อยกว่า 6 เดือน ไม่สามารถนำมานับได้
การคำนวณ • การคำนวณผลการดำเนินงาน 3 ปี • ผลการดำเนินงานที่นำมาคำนวณในรูปของสัดส่วนและร้อยละ เมื่อคำนวณหารสัดส่วนของข้อมูล 3 ปี ใช้สูตรการคำนวณ ดังนี้
การคำนวณ • การคำนวณค่าคะแนน • ให้คำนวณตามผลการดำเนินงานจริง โดยใช้ผลการดำเนินงานที่กำหนดเป็น 5 คะแนน ตามเกณฑ์การให้คะแนน เป็นตัวเทียบในการคำนวณค่าคะแนน ดังนี้
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต • ตัวบ่งชี้ที่ 1 บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี • วิธีการคำนวณ • เกณฑ์การให้คะแนน: ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กำหนดร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน • หมายเหตุ: ไม่นับลาศึกษาต่อหรือมีงานทำอยู่แล้ว ผู้อุปสมบท และผู้ที่เกณฑ์ทหาร • (หักออกทั้งตัวตั้งและตัวหาร)
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ • ด้านคุณธรรม จริยธรรม • + ด้านทักษะพิสัย • ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • ด้านทักษะทางปัญญา • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ • ด้านความรู้
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ • วิธีการคำนวณ • เกณฑ์การให้คะแนน: ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต • (คะแนนเต็ม 5) 27
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต • ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือ • เผยแพร่ • วิธีการคำนวณ • เกณฑ์การให้คะแนน: ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กำหนดร้อยละ 25 เท่ากับ 5 คะแนน 28
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต • ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือ • เผยแพร่ ระดับคุณภาพบทความวิจัยที่ตีพิมพ์ แก้ไขตามประกาศ สมศ. ณ วันที่ 23 สิงหาคม 2555
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต • ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือ • เผยแพร่ ระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ 30
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต • ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือ • เผยแพร่ • วิธีการคำนวณ • เกณฑ์การให้คะแนน: ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กำหนดร้อยละ 50 เท่ากับ 5 คะแนน 31
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต • ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือ • เผยแพร่ ระดับคุณภาพบทความวิจัยที่ตีพิมพ์
Quartile ที่ 1 ตั้งแต่ 1-4687 Quartile ที่ 2 ตั้งแต่ 4688-9374 Quartile ที่ 3 ตั้งแต่ 9375-14062 Quartile ที่ 4 ตั้งแต่ 14063- 18750
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านคุณภาพบัณฑิต • ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือ • เผยแพร่ ระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ • ตัวบ่งชี้ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ • วิธีการคำนวณ • หมายเหตุ:จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำทั้งหมดใน แต่ละปีการศึกษา • โดยนับรวมอาจารย์และนักวิจัยประจำทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและ • ลาศึกษาต่อ ทั้งนี้ให้รายงานย้อนหลังสามปีจนถึงปีการศึกษาที่ประเมิน
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ • ตัวบ่งชี้ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ กำหนดระดับคุณภาพงานวิจัยที่ตีพิมพ์
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ • ตัวบ่งชี้ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ • ตัวบ่งชี้ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ • เกณฑ์การประเมิน : ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละ • เท่ากับ 5 คะแนนจำแนกตามกลุ่มสาขาวิชา ดังนี้ การคิดคะแนนระดับคณะ: ให้นำคะแนนที่คิดได้ของแต่ละกลุ่มสาขาวิชามาหาค่าเฉลี่ย และการคิดคะแนนระดับสถาบันให้นำคะแนนที่คิดได้ใน แต่ละคณะมาหาค่าเฉลี่ย
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ • ตัวบ่งชี้ที่ 6 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ • วิธีการคำนวณ • เกณฑ์การให้คะแนน: ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละ 20 • เท่ากับ 5 คะแนนทุกกลุ่มสาขาวิชา
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ • ตัวบ่งชี้ที่ 7 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ • วิธีการคำนวณ • เกณฑ์การให้คะแนน: ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละ 10 • เท่ากับ 5 คะแนนทุกกลุ่มสาขาวิชา • - นับตำราที่มีการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ • - ได้รับการเผยแพร่(แล้วเสร็จในปีการศึกษาที่ประเมิน) • - นับตำราที่ใช้ขอตำแหน่งวิชาการ(ผศ. รศ. ศ.) แต่ต้องผ่านการอนุมัติตำแหน่งทาง • วิชาการในปีงบประมาณ
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ • ตัวบ่งชี้ที่ 7 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ระดับคุณภาพผลงานวิชาการ
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม • ตัวบ่งชี้ที่ 8 ผลการนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ใน • การพัฒนาการเรียน การสอนหรือ การวิจัย • วิธีการคำนวณ • เกณฑ์การให้คะแนน: ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกำหนดร้อยละ 30 • เท่ากับ 5 คะแนน • * กรณีใช้ในการเรียนการสอนต้องมีแผนการสอนที่ระบุเนื้อหาของหัวข้อการบริการวิชาการหรือวิจัย อย่างชัดเจน
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม • ตัวบ่งชี้ที่ 9 การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก • ประเด็นการพิจารณา • มีการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนหรือองค์กร • บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 • ชุมชนหรือองค์กรมีผู้นำหรือสมาชิกที่มีการเรียนรู้และดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง • ชุมชนหรือองค์กรสร้างกลไกที่มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยคงอัตลักษณ์ และวัฒนธรรมของชุมชนหรือองค์กร • มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคม หรือชุมชน/องค์กรมีความเข้มแข็ง • * ยกตัวอย่าง 1 โครงการ/กิจกรรม
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม • ตัวบ่งชี้ที่ 9 การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก เกณฑ์การประเมิน
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม • ตัวบ่งชี้ที่ 10 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม • ประเด็นการพิจารณา • มีการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) • บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 • มีการดำเนินงานสม่ำเสมออย่างต่อเนื่อง • เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชน • ได้รับการยกย่องระดับชาติและ/หรือนานาชาติ เกณฑ์การประเมิน
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม • ตัวบ่งชี้ที่ 11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม • ประเด็นการพิจารณา • การมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถาบันที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรมที่ดี • อาคารสถานที่ สะอาดถูกสุขลักษณะ และตกแต่งอย่างมีความสุนทรีย์ • ปรับแต่งและรักษาภูมิทัศน์ให้สวยงาม สอดคล้องกับธรรมชาติ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • มีพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เอื้อและส่งเสริมต่อการจัดกิจกรรม และมีการจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ • ระดับความพึงพอใจของบุคลากรและนักศึกษาไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม • ตัวบ่งชี้ที่ 11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม เกณฑ์การประเมิน