200 likes | 649 Views
โรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครินทร์. โรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครินทร์. เป็นโรงพยาบาลขนาด 120 เตียง สังกัดกรมสุขภาพจิต ตั้งอยู่บนเนินเขาในเขตตำบลนาอาน อำเภอเมือง จังหวัดเลย โดยห่างจากตัวเมืองประมาณ 5 กิโลเมตร. เนื้อที่ 48 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา.
E N D
โรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครินทร์โรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครินทร์
โรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครินทร์โรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครินทร์ เป็นโรงพยาบาลขนาด 120 เตียง สังกัดกรมสุขภาพจิต ตั้งอยู่บนเนินเขาในเขตตำบลนาอาน อำเภอเมือง จังหวัดเลย โดยห่างจากตัวเมืองประมาณ 5 กิโลเมตร
เนื้อที่ 48 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา
เปิดอย่างไม่เป็นทางการ 11 พ.ย. 2542 (วันสถาปนา) เปิดให้บริการงานผู้ป่วยนอก 17 ม.ค. 2543 เปิดให้บริการงานผู้ป่วยใน 9 ม.ค. 2544
พื้นที่รับผิดชอบ รพ.จิตเวชเลยราชนครินทร์ จ.เลย จ.หนองบัวลำภู
บุคลากร ข้าราชการ 48 คน ลูกจ้างประจำ 4 คน พนักงานราชการ 6 คน ลูกจ้างชั่วคราว 52 คน รวมทั้งสิ้น 110 คน
การให้บริการ 1.บริการผู้ป่วยนอก 2. บริการผู้ป่วยใน 3.บริการคลินิกบำบัดผู้ติดสารเสพติด (คลินิกทานตะวัน) 4.บริการคลินิกเติมใจรัก (ปรึกษาปัญหาครอบครัว) 5.บริการตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยา 6.บริการคลินิกคลายเครียด 7.บริการปรึกษาทางจิตสังคม
8. บริการจิตเวชชุมชน • 9. รับปรึกษาปัญหาสุขภาพจิต ตลอด 24 ชั่วโมง 1323 ,1667 • 10. ให้บริการผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน ตลอด 24 ชั่วโมง • 11. ขึ้นทะเบียนผู้พิการ และเปลี่ยนสิทธิ์ (ท.74) • 12. ให้บริการลงทะเบียนโครงการเบิกจ่ายตรง
ปัญหาที่เกิดขึ้นก่อนนำ ISO เข้ามา • ด้านบุคลากร • ขั้นตอนการทำงานและระบบ • ระบบเอกสาร
------------------------------- • ISO ไม่ใช่เรื่องยาก เพียง..... • “ทำตามที่เขียน เขียนตามที่ทำ และจดบันทึกไว้ • เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า”
การพัฒนาคุณภาพ • เริ่มทำ ISO 9001:2000 เมื่อปลายปี 2543 • ผ่านการรับรอง เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2545 ทั้งระบบของโรงพยาบาล • ผ่านการรับรอง ISO 9001:2008 เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2551
ขั้นตอนการทำ ISO • วางแผนการดำเนินการ • ประกาศนโยบายคุณภาพต่อบุคลากร • แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการฝ่ายต่าง ๆ • มีการอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรทุกคนในทุกระดับ • กำหนดโครงสร้างและระบบเอกสาร • ทำการตรวจสอบ (Audit) และติดตามคุณภาพภายในอย่างสม่ำเสมอ
ปัญหาและอุปสรรค • การขาดความรู้และความเข้าใจที่ไม่ดีพอในเรื่องข้อกำหนด • เกิดการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง • การขาดความร่วมมือ • การขาดวินัยในการปฏิบัติตามแนวทางที่ได้ทำไว้
การแก้ไข • มีการจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับระบบ ISO แก่บุคลากร • เน้นการติดต่อสื่อสารแบบ 2 ทางร่วมกับบุคลากรทั่วทั้งองค์กร • ให้บุคลากรทุกระดับเข้ามามีส่วนร่วมในการทำ เช่น การเขียนระเบียบปฏิบัติ • ผู้บริหารเข้าไปมีส่วนร่วมในการทำทุกขั้นตอน ร่วมคิด ร่วมทำ
Tactics • ผู้บริหาร • เน้นการมีส่วนร่วม • จับมือทำ • ไม่เข้าใจ ก็ทำก่อน “ทำไปก่อน เดี๋ยวดูให้” • มองคุณภาพเป็นก้อนเดียวกัน
การรักษาระบบ • จัดกิจกรรมคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ เช่น การประกวด CQI • มีการทบทวนเอกสารอย่างสม่ำเสมอ • ตรวจติดตามคุณภาพภายใน(IQA) ปี ละ 2 ครั้ง • ตรวจติดตามคุณภาพจากหน่วยงานภายนอก ทุก 6 เดือน
ผลที่ได้รับ ผลที่ได้รับ • ประโยชน์ต่อองค์กร • เกิดการยอมรับในคุณภาพ • เกิดภาพลักษณ์ที่ดี • กระบวนการบริหารงานมีระบบ
ผลที่ได้รับ • ประโยชน์ต่อบุคลากร • บุคลากรเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมากขึ้น • บุคลากรมีส่วนร่วมในการทำงานด้านคุณภาพและมีจิตสำนึกด้านคุณภาพที่เป็นผลจากการดำเนินการที่เป็นระบบอย่างต่อเนื่องยาวนาน • บุคลากรมีการทำงานที่เป็นระบบและมีการทำงานเป็นทีม
ผลที่ได้รับ • ประโยชน์ต่อผู้มารับบริการ • มีความมั่นใจในบริการขององค์กร • มีความพึงพอใจในการรับบริการมากขึ้น
ขอขอบคุณ และสวัสดี