1 / 13

โครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล ในการจัดการเมืองสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

โครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล ในการจัดการเมืองสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Partnership for Democratic Local Governance in Southeast-Asia) DELGOSEA สนับสนุนโดย สหภาพยุโรป (European Union) ดำเนินการโดย

oral
Download Presentation

โครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล ในการจัดการเมืองสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาลโครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล ในการจัดการเมืองสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Partnership for Democratic Local Governance in Southeast-Asia) DELGOSEA สนับสนุนโดย สหภาพยุโรป (European Union) ดำเนินการโดย Konrad Adenauer Stiftung (KAS) สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (TEI)

  2. ผู้สนับสนุน : สหภาพยุโรป (European Union) ภายใต้โปรแกรม Non-State Actors (NSA) and Local Authorities in Development Actions in Partner Countries ระยะเวลาโครงการ :30 เดือน เริ่มมีนาคม 2553 – สิงหาคม 2555 พื้นที่ดำเนินโครงการ :ฟิลิปปินส์ ไทย อินโดนีเซีย กัมพูชา และเวียดนาม กลุ่มเป้าหมาย :สมาคมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, ผู้บริหารท้องถิ่น, ข้าราชการส่วนท้องถิ่น, ผู้แทนภาคประชาสังคม, นักวิชาการ, สื่อมวลชน, และผู้แทนจากหน่วยงานระดับประเทศ รายละเอียดโครงการ

  3. โครงสร้างของโครงการ - หน่วยงานร่วมดำเนินการ คณะกรรมการกำกับโครงการ (Steering Committee) (ผู้อำนวยการโครงการของ KAS และผู้อำนวยการโครงการของแต่ละประเทศ) เวียดนาม (UCLG-ASPAC/ ACVN) ฟิลิปปินส์ (LOGODEF) กัมพูชา (UCLG-ASPAC/ NLC/S) สำนักงานโครงการ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ไทย (TEI+MLT) อินโดนีเซีย (UCLG-ASPAC)

  4. วัตถุประสงค์โครงการ • เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรของ อปท. และสมาคมสันนิบาตเทศบาลในการจัดการเมืองและสิ่งแวดล้อม • เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ ตัวอย่างการพัฒนาเมืองที่ดี ของ อปท. ทั้งในและต่างประเทศ • เพื่อสร้างเครือข่ายการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนระหว่างหน่วยงานต่างๆ ได้แก่อปท. องค์กรพัฒนาเอกชน สมาคมสันนิบาตเทศบาล และสถาบันการศึกษา โดยมีเป้าหมายหลัก คือ เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชนที่อาศัยอยู่ในเมืองนั้น โดยส่งเสริมการพัฒนาเมืองโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการบ้านเมือง

  5. ประเด็นของตัวอย่างที่ดี (Best Practices) 1) การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวางแผนและตัดสินใจ 2) การบริหารจัดการองค์กรตามหลักธรรมาภิบาล 3) การจัดบริการสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม 4) การจัดการการเงินการคลัง และการส่งเสริมการลงทุนเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของเมือง

  6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • มี “ตัวอย่างที่ดี” ในการจัดการและพัฒนาเมืองใน 4 ประเด็น ใน 5 ประเทศ • บุคลากรของสมาคมอปท. ได้รับการพัฒนาศักยภาพ เพื่อเป็นหน่วยงานสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการเมืองตามหลักธรรมาภิบาลแก่ อปท. • มีการเผยแพร่และขยายผล “ตัวอย่างที่ดี” ในระดับภูมิภาคเอเซียตะวันนอเฉียงใต้ • เกิดเครือข่าย อปท. และหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาเมือง ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ • หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องเข้ามาสนับสนุนส่งเสริมการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาลใน 4 ประเด็นแก่ อปท. มากกว่าที่เป็นอยู่

  7. แผนการดำเนินงาน • ปีที่ 1 (เดือน 1-12) การคัดเลือกตัวอย่างที่ดีและ อปท.นำร่องที่จะมาถอดแบบ - การคัดเลือกตัวอย่างที่ดี (27 ตัวอย่าง) และอปท.นำร่อง (20 เทศบาล) - การคัดเลือกให้เหลือ 16 ตัวอย่างที่ดี และจัดทำเอกสารโดยละเอียด - จัดทำหลักสูตรการฝึกอบรมวิทยากรพี่เลี้ยงที่มาจาก สมาคม อปท.ของแต่ละประเทศ - ฝึกอบรมวิทยากรเพื่อเป็นพี่เลี้ยงแก่เทศบาลนำร่อง • ปีที่ 2 (เดือน 13-24) การนำเอาตัวอย่างทีดีไปปฏิบัติและติดตามประเมินผล - เทศบาลนำร่องจัดทำกรอบแนวคิดโครงการถอดแบบตัวอย่างที่ดีไปสู่การปฏิบัติ - ฝึกอบรมสร้างศักยภาพแก่เทศบาลนำร่องเพื่อการนำตัวอย่างที่ดีสู่การปฏิบัติ - ศึกษาดูงานจากเมืองตัวอย่างที่ดีโดยเทศบาลนำร่อง - ติดตามประเมินผลกลางปี • ปีที่ 3 (เดือน 25-30) การติดตามประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินการ - สรุปบทเรียน ปัญหาและอุปสรรค ฯลฯ เพื่อนำมาปรับปรุงการดำเนินโครงการ - การผลักดันเข้าสู่หน่วยงานในระดับนโยบาย (national dialogue)

  8. 16 ตัวอย่างที่ดีจาก 5 ประเทศ

  9. 16 ตัวอย่างที่ดีจาก 5 ประเทศ

  10. 16 ตัวอย่างที่ดีจาก 5 ประเทศ

  11. 16 ตัวอย่างที่ดีจาก 5 ประเทศ

  12. เกณฑ์การคัดเลือกอปท.นำร่องเพื่อถอดแบบตัวอย่างที่ดีสู่การปฏิบัติเกณฑ์การคัดเลือกอปท.นำร่องเพื่อถอดแบบตัวอย่างที่ดีสู่การปฏิบัติ • มีประสบการณ์ในการดำเนินงานในประเด็นนั้นๆ อย่างน้อย 4 ปี • มีประชากรไม่ต่ำกว่า 20,000 คน บุคลากรมีศักยภาพและความพร้อม • เป็นอปท. ที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักในประเทศ • ผู้บริหาร (นายกเทศมนตรี หรือข้าราชการประจำ) มีความเข้มแข็ง และมีความต้องการที่จะปรับปรุงงานที่ทำอยู่ • เทศบาลต้องแสดงความประสงค์ และมีพันธกิจในการเข้าร่วมโครงการ มีความพร้อมที่จะเข้าร่วมกิจกรรมตลอดระยะเวลาโครงการ และภายหลังโครงการเสร็จสิ้น • สามารถเดินทางได้ง่าย และสะดวก • ไม่มีความขัดแย้งทางการเมืองที่จะส่งผลต่อการดำเนินกิจกรรม/โครงการ

  13. 4 เทศบาลนำร่องในประเทศไทยและโครงการที่จะถอดแบบสู่การปฏิบัติ

More Related