210 likes | 402 Views
โครงการระบบบริหารจัดการสารเคมี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ที่ปรึกษา : รศ.ดร. พิสมัย กุลกาญจนาธร ทีมงาน : บรมพจน์ พฤฒิวนาสัณฑ์ ประดิษฐา รัตนวิจิตร์ สุรินทร์ อยู่ยง รักษิณีย์ คำมานิตย์ กาญจนา ทิมอ่ำ ดวงใจ จันทร์ต้น อุบลวรรณ บุญเปล่ง ดุษณี ธนฐิติพงศ์ นันทวรรณ จินากุล รัตนา นาคสง่า
E N D
โครงการระบบบริหารจัดการสารเคมีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ปรึกษา: รศ.ดร. พิสมัย กุลกาญจนาธร ทีมงาน: บรมพจน์ พฤฒิวนาสัณฑ์ ประดิษฐา รัตนวิจิตร์ สุรินทร์ อยู่ยง รักษิณีย์ คำมานิตย์ กาญจนา ทิมอ่ำ ดวงใจ จันทร์ต้น อุบลวรรณ บุญเปล่ง ดุษณี ธนฐิติพงศ์ นันทวรรณ จินากุล รัตนา นาคสง่า วิไลวรรณ ทองใบน้อย กวีวุฒิ กนกแก้ว กฤษณะ พรมดวงศรี
ปัญหาในการทำงานปัจจุบันปัญหาในการทำงานปัจจุบัน ปริมาณสารเคมี มากเกินกว่า 3,000 ขวด เภสัชอุตสาหกรรม เภสัชจุลชีววิทยา เภสัชกรรม เภสัชเคมี เภสัชพฤกษศาสตร์ เภสัชวินิจฉัย หน่วยพัสดุ เภสัชวิทยา สรีรวิทยา ชีวเคมี หน่วยปฏิบัติการมาตรฐาน วิจัยกลาง อาหารเคมี
ปัญหาในการทำงานปัจจุบันปัญหาในการทำงานปัจจุบัน • ปัญหาในการดูแลจำนวนสารเคมี • ไม่ทราบจำนวนคงเหลือที่แน่นอน • ไม่ทราบวันหมดอายุ • ไม่ทราบข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี • การสั่งสารเคมีที่ซ้ำซ้อนกัน การเพิ่มจำนวนและการสะสมสารเคมีที่หมดอายุ นำระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการบริหารจัดการจำนวนสารเคมี (ระบบฐานข้อมูลสารเคมี)
ระบบฐานข้อมูลสารเคมี • Computer-based application • Need an expert programmer • Inflexible to access • Need an installation of software for all computer
ระบบฐานข้อมูลสารเคมี + • Web-based application / Webpage generator • Flexible to access (Internet access) • Additional software does not needed • Compatible to Tablet PC or smart phone • Real time updating
RESULT FROM R2R
อบรมการใช้งานระบบฐานข้อมูลอบรมการใช้งานระบบฐานข้อมูล 28 เมษายน 2553
ขั้นตอนของระบบบริหารจัดการสารเคมีขั้นตอนของระบบบริหารจัดการสารเคมี 1 ภาควิชา/หน่วยงานเบิกสารเคมี 2 ลงบันทึกในฐานข้อมูล 3 จัดเก็บสารเคมี แปะฉลากบนขวดสารเคมี
ระบบการขอยืม/ขอใช้สารเคมีระบบการขอยืม/ขอใช้สารเคมี
การประเมินผลระบบฐานข้อมูลการประเมินผลระบบฐานข้อมูล • Technician • ระบบสามารถใช้แก้ไขปัญหาการบริหารจำนวนสารเคมีได้ • มีความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบฐานข้อมูลดี • ต้องการให้มีการประชาสัมพันธ์ระบบฐานข้อมูลในรูปแบบที่เป็นทางการภายในคณะแก่นักศึกษา นักวิทยาศาสตร์และนักวิจัย
การประเมินผลระบบฐานข้อมูลการประเมินผลระบบฐานข้อมูล • Researcher / Student • ส่วนมากยังไม่ทราบหรือไม่ได้รับการประชาสัมพันธ์เรื่องระบบฐานข้อมูล • ผู้ที่เคยใช้งานมีความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบฐานข้อมูลดี • ต้องการให้มีการประชาสัมพันธ์ระบบฐานข้อมูลในรูปแบบที่เป็นทางการภายในคณะแก่นักศึกษา นักวิทยาศาสตร์และนักวิจัย
สรุปผลการดำเนินงานของโครงการสรุปผลการดำเนินงานของโครงการ • ได้ระบบฐานข้อมูลเพื่อดูแลจำนวนสารเคมีของหน่วยงาน/ภาควิชา • Technician ประจำภาควิชาสามารถใช้งานระบบฐานข้อมูลได้ • จำนวนเฉลี่ยผู้ใช้งาน 250 คน ต่อหนึ่งเดือน • ลดจำนวนการซื้อสารเคมีที่ซ้ำซ้อน (CHEAPER) • ลดระยะเวลาในการใช้ค้นหาสารเคมี (FASTER) • ระบบช่วยจำวันที่หมดอายุและสถานที่จัดเก็บของสารเคมี (BETTER) • ข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี (BETTER)
การนำเสนอผลงาน R2R การประชุมวิชาการเครือข่ายบุคลากรสายสนับสุนน คณะเภสัชศาสตร์แห่งประเทศไทย