1 / 31

การตัดสินใจ ของหน่วยธุรกิจ

หน่วยที่ 6. การวิเคราะห์ราคาและ. การตัดสินใจ ของหน่วยธุรกิจ. การวิเคราะห์ราคาและการตัดสินใจ ของหน่วยธุรกิจ. การกำหนดราคาของหน่วยธุรกิจในโครงสร้างตลาดประเภทต่างๆ การกำหนดราคาเพื่อเป้าหมายต่างๆในระยะยาว การกำหนดราคาสินค้าในทางปฏิบัติ การกำหนดราคาสินค้าใหม่. การตั้งราคาในทางปฏิบัติ.

onella
Download Presentation

การตัดสินใจ ของหน่วยธุรกิจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยที่ 6 การวิเคราะห์ราคาและ การตัดสินใจของหน่วยธุรกิจ

  2. การวิเคราะห์ราคาและการตัดสินใจของหน่วยธุรกิจการวิเคราะห์ราคาและการตัดสินใจของหน่วยธุรกิจ • การกำหนดราคาของหน่วยธุรกิจในโครงสร้างตลาดประเภทต่างๆ • การกำหนดราคาเพื่อเป้าหมายต่างๆในระยะยาว • การกำหนดราคาสินค้าในทางปฏิบัติ • การกำหนดราคาสินค้าใหม่

  3. การตั้งราคาในทางปฏิบัติการตั้งราคาในทางปฏิบัติ รศ. จรินทร์ เทศวานิช

  4. วัตถุประสงค์ของการตั้งราคาวัตถุประสงค์ของการตั้งราคา • เพื่อทำกำไรสูงสุด • เพื่อให้รายได้สูงสุด • เพื่อให้ส่วนครองตลาดสูงสุด • เพื่อรักษาระดับราคาสินค้า • เพื่อเผชิญกับการแข่งขัน • เพื่อการเติบโตของยอดขายสูงสุด ฯลฯ

  5. การกำหนดราคาสินค้าแบบต่างๆการกำหนดราคาสินค้าแบบต่างๆ • การกำหนดราคาโดยบวกเพิ่มกับต้นทุน ตัวอย่าง Markup on Cost = 2.99 - 2.30 2.30 = 0.30 หรือ 30% Markup on Cost = Price - Cost Cost

  6. การกำหนดราคาสินค้าแบบต่างๆการกำหนดราคาสินค้าแบบต่างๆ หรือ ใช้สูตรเพื่อหาราคาสินค้าได้ คือ หรือ ตัวอย่าง Price = 2.30 ( 1 + 0.30 ) = 2.99 Price = Cost ( 1 + Markup on Cost ) ราคาสินค้า = ต้นทุน ( 1 + อัตราส่วนเหลื่อมของต้นทุน )

  7. การกำหนดราคาสินค้าแบบต่างๆการกำหนดราคาสินค้าแบบต่างๆ • การกำหนดราคาโดยบวกเพิ่มกับราคา ตัวอย่าง Markup on Price = 8.30 - 6.90 8.30 = 0.17 หรือ 17% Markup on Price = Price - Cost Price

  8. ความสอดคล้องระหว่างการกำหนดราคาโดยใช้ส่วนเหลื่อมผลกำไร กับกำไรสูงสุด ณ จุดกำไรสูงสุด MC = MR โดยที่ MR = P (1 + 1 ) p ดังนั้น P (1 + 1 ) = MC p หรือ P = MC 1 1 + 1 p

  9. ความสอดคล้องระหว่างการกำหนดราคาโดยใช้ส่วนเหลื่อมผลกำไร กับกำไรสูงสุด การหา Optimal Markup on Cost ซึ่ง P = MC ( 1 + Markup on Cost ) ดังนั้น MC ( 1 + Markup on Cost ) = MC 1 1 + 1 p เอา MC หารสมการทั้งสองข้าง ได้ ( 1 + Markup on Cost ) = MC 1 1 + 1 p เพราะฉะนั้น อัตราส่วนเหลื่อมของต้นทุนที่จะให้ได้กำไรสูงสุด Optimal Markup on Cost (OMC) = -1 p + 1

  10. ความสอดคล้องระหว่างการกำหนดราคาโดยใช้ส่วนเหลื่อมผลกำไร กับกำไรสูงสุด ตัวอย่าง ถ้า p = - 1.5 OMC = - 1 = - 1 = 200 % p + 1 - 1.5 + 1 ถ้า p = - 5 OMC = - 1 = - 1 = 25 % p + 1 - 5 + 1

  11. ความสอดคล้องระหว่างการกำหนดราคาโดยใช้ส่วนเหลื่อมผลกำไร กับกำไรสูงสุด การหา Optimal Markup on Price จากสมการ MC = P ( 1 + 1 ) p MC = ( 1 + 1 ) P p MC - P = 1 P p P - MC = - 1 P p Optimal Markup on Price (OMP) = - 1 p

  12. ความสอดคล้องระหว่างการกำหนดราคาโดยใช้ส่วนเหลื่อมผลกำไร กับกำไรสูงสุด ตัวอย่าง ถ้า p = - 1.5 OMC = - 1 = 66.7 % - 1.5 ถ้า p = - 5 OMC = - 1 = 20.0 % - 5

  13. ความสอดคล้องระหว่างการกำหนดราคาโดยใช้ส่วนเหลื่อมผลกำไร กับกำไรสูงสุด จากสูตร ถ้าความยืดหยุ่นต่อราคาสินค้ามีค่าสูง อัตราส่วนเหลื่อมของกำไรจะมีค่าต่ำ ในทางตรงกันข้าม ถ้าความยืดหยุ่นต่อราคาสินค้ามีค่าต่ำ อัตราส่วนเหลื่อมของกำไรจะมีค่าสูง ดังตัวอย่างในตาราง

  14. ความสอดคล้องระหว่างการกำหนดราคาโดยใช้ส่วนเหลื่อมผลกำไร กับกำไรสูงสุด Price Elasticity Optimal Markup on Optimal Markup on of Demand ( p) Cost (%): -1 Price (%): -1 p + 1 p - 1.5 200.0 66.7 - 2.0 100.0 50.0 - 2.5 66.7 40.0 - 5.0 25.0 20.0 - 10.0 11.0 10.0 - 25.0 4.2 4.0

  15. การกำหนดราคาโดยอาศัยส่วนเพิ่มต้นทุน (Incremental Cost) ต้นทุนส่วนเพิ่ม = TC Q ตัวอย่าง ถ้ามีการผลิตสินค้าชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น ( Q) เท่ากับ 10,000 หน่วย ทำให้ต้นทุนทั้งหมดเพิ่มขึ้น ( TC) 250,000 บาท เพราะฉะนั้น ต้นทุนส่วนเพิ่มต่อหน่วย = 250,000 10,000 = 25 บาท ดังนั้น ในการตั้งราคาสินค้าชนิดนี้ก็ควรไม่ต่ำกว่า 25 บาท/หน่วย

  16. P P P 0 0 0 Q Q Q การกำหนดราคาขายหลายระดับ (Price Discrimination) MCA+B PA PB MRA+B DA+B MRA DA MRB DB QA QB QA+B

  17. การกำหนดราคาขายระดับ โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ Public Demand Student Demand Pp = 225 - 0.005 QpPs = 125 - 0.00125 Qs TRp = Pp . QpTRs = Ps . Qs TRp = 225 Qp . - 0.005 Qp2TRs = 125 Qs . - 0.00125 Qs2 MRp = 225 - 0.01 QpMRs= 125 - 0.0025 Qs TC = 1,500,000 + 25 Q MC = 25

  18. การกำหนดราคาขายระดับ โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ Public Demand Student Demand MRp = MC MRs = MC 225 - 0.01 Qp = 25 125 - 0.0025 Qs = 25 0.01 Qp = 200 0.0025 Qs = 100 Qp = 20,000 Qs = 40,000 เมื่อ เมื่อ Pp = 225 - 0.005 Qp Ps = 125 - 0.00125 Qs Pp = 225 - 0.005 (20,000) Ps = 125 - 0.00125(40,000) Pp = 125 Ps = 75

  19. การกำหนดราคาขายระดับ โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ การหากำไร กำไร = TRp + TRs - TC กำไร = 125 (20,000) + 75 (40,000) - [1,500,000 + 25(60,000)] = 2,500,000

  20. ข้อพิสูจน์ในกรณีตั้งราคาเดียวจะได้กำไรน้อยกว่าข้อพิสูจน์ในกรณีตั้งราคาเดียวจะได้กำไรน้อยกว่า Public Demand Student Demand Qp = 45,000 - 200 PpQs = 100,000 - 800 Ps QT = Qp + Qs QT = 145,000 - 1,000 P และ P = 145 - 0.001 Q TR = P . Q = 145 Q - 0.001 Q2 MR = dTR = 145 - 0.002 Q dQ

  21. ข้อพิสูจน์ในกรณีตั้งราคาเดียวจะได้กำไรน้อยกว่าข้อพิสูจน์ในกรณีตั้งราคาเดียวจะได้กำไรน้อยกว่า จุดกำไรสูงสุด MC = MR เมื่อ MC = 25 145 - 0.002 Q = 25 0.002 Q = 120 Q = 60,000 เมื่อ P = 145 - 0.001 (60,000) P = 85

  22. ข้อพิสูจน์ในกรณีตั้งราคาเดียวจะได้กำไรน้อยกว่าข้อพิสูจน์ในกรณีตั้งราคาเดียวจะได้กำไรน้อยกว่า กำไร = TR - TC = 85 (60,000) - [1,500,000 + 25 (60,000)] = 2,100,000 บาท

  23. ราคา ปริมาณ 0 การกำหนดราคาสินค้าร่วม ที่การผลิตมีความสัมพันธ์สัดส่วนคงที่ MC PB DB MRB PA DA MRT MRA Q*

  24. การกำหนดราคาสินค้า ที่การผลิตมีความสัมพันธ์สัดส่วนคงที่ทางด้านคณิตศาสตร์ TC = 2,000,000 + 50 Q + 0.01 Q2 MC = dTC = 50 + 0.02 Q Newsprint Packaging Materials PA = 400 - 0.01 QAPB = 350 - 0.015 QB TRA = PA . QATRB = PB . QB TRA = 400 QA - 0.01 QA2TRB = 350QB - 0.015QB2 MRA = 400 - 0.02 QAMRB = 350 - 0.03 QB TR = TRA + TRB TR = 400 QA - 0.01 QA2 + 350 QB - 0.015 QB2

  25. การกำหนดราคาสินค้า ที่การผลิตมีความสัมพันธ์สัดส่วนคงที่ทางด้านคณิตศาสตร์ เนื่องจากการผลิต QA และ QBอยู่ในกระบวนการผลิตเดียวกัน นั่นคือ QA = QB = Q TR = 400 Q - 0.01 Q2 + 350 Q - 0.015 Q2 TR = 750 Q - 0.025 Q2 MR = 750 - 0.05 Q ณ จุดกำไรสูงสุด MC = MR 750 - 0.05 Q = 50 + 0.02 Q 0.07 Q = 700 Q = 10,000 หน่วย

  26. การกำหนดราคาสินค้า ที่การผลิตมีความสัมพันธ์สัดส่วนคงที่ทางด้านคณิตศาสตร์ ณ Q = 10,000 หน่วย MR แต่ละผลผลิตเท่ากับ MRA = 400 - 0.02 QA MRB = 350 - 0.03 QB = 400 - 0.02 (10,000) = 350 - 0.03 (10,000) = 200 (ที่ 10,000 หน่วย) = 50 (ที่ 10,000) การหาค่าของ MC MC = 50 + 0.02 Q = 50 + 0.02 (10,000) = 250

  27. การกำหนดราคาสินค้า ที่การผลิตมีความสัมพันธ์สัดส่วนคงที่ทางด้านคณิตศาสตร์ การหาค่าของ PAและ PB PA = 400 - 0.01 QA PB = 350 - 0.015 QB = 400 - 0.01 (10,000) = 350 - 0.015 (10,000) = 300 = 200

  28. การกำหนดราคาสินค้า ที่การผลิตมีความสัมพันธ์สัดส่วนคงที่ทางด้านคณิตศาสตร์ การหากำไร กำไร = TRA + TRB - TC = PA . QA + PB . QB - TC = 300(10,000) + 200(10,000) - 2,000,000 - 50(10,000) - 0.01(10,000)2 = 1,500,000 ธุรกิจจะผลิตและขายสินค้า A และ B ดังนี้ QA = 10,000 หน่วย ขาย PA = 300 /หน่วย QB = 10,000 หน่วย ขาย PB = 200 /หน่วย กำไร = 1,500,000 บาท

  29. ราคา ปริมาณ 0 การกำหนดราคาสินค้าร่วม ที่การผลิตมีความสัมพันธ์สัดส่วนคงที่ในกรณีสินค้าชนิดหนึ่งผลิตเกิน MC PB DB PA MRB DA MRA+B MRA Q2 Q1

  30. ผลผลิตร่วมที่ทำการผลิตในสัดส่วนผันแปรได้(Joint Product Produced in Variable Proportions) ต้นทุนรวมของกลุ่มผลผลิต (บาท) ผลผลิต Y ผลผลิต 1 2 3 4 5 15 7 10 15 22 210 13 18 23 31 320 25 33 40 50 435 43 53 63 75 555 67 78 90 105

  31. QX TC = 20 ผลผลิต (X) = 3 = 5 = 6 = 2 TC = 14 TC = 12 TC = 8 TR = 20 TR = 25 TR = 15 TR = 10 QY 0 ผลผลิต (Y) ผลผลิตร่วมที่ทำการผลิตในสัดส่วนผันแปรได้(Joint Product Produced in Variable Proportions)

More Related