70 likes | 227 Views
อำเภอแก่งคอย เด็กชายวีระ ชัย บัวขำ เลขที่ 1 เด็กชายมี ชัย เตโช เลขที่ 10 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9. หน้าหลัก. อาณาเขตของ อำเภอแก่ง คอย. ความเป็นมา ของ คำ ว่าแก่งคอย. คำขวัญของ อำเภอแก่ง คอย. การคมนาคม. ความเป็นมาของคำว่าแก่งคอย.
E N D
อำเภอแก่งคอยเด็กชายวีระชัย บัวขำ เลขที่ 1เด็กชายมีชัย เตโช เลขที่ 10ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/9
หน้าหลัก อาณาเขตของ อำเภอแก่งคอย ความเป็นมาของ คำว่าแก่งคอย คำขวัญของ อำเภอแก่งคอย การคมนาคม
ความเป็นมาของคำว่าแก่งคอยความเป็นมาของคำว่าแก่งคอย แก่งคอย คำว่า"แก่งคอย" เป็นภาษาไทยแท้ "แก่ง" หมายถึง หินที่ตั้งขวางน้ำที่กีดขวางกระแสน้ำ "คอย" หมายถึง การรอคอย อาจเป็นรอมิตรสหาย รอคอยยานพาหนะเดินทาง "แก่งคอย" จึงหมายถึง บริเวณโขดหินที่คนมานั่งคอยยานพาหนะที่จะเกิดขึ้นหรือล่องไป เทศบาลตำบลแก่งคอยตั้งขึ้นปี พ.ศ.2509และปรับปรุง พ.ศ.2542
อาณาเขตของอำเภอแก่งคอยอาณาเขตของอำเภอแก่งคอย อำเภอแก่งคอยตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้ - ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอพัฒนานิคม (จังหวัดลพบุรี) และอำเภอวังม่วง - ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอมวกเหล็ก - ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอเมืองนครนายก อำเภอบ้านนา (จังหวัดนครนายก) และอำเภอวิหารแดง - ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอเมืองสระบุรีและอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
คำขวัญอำเภอแก่งคอย ถิ่นหลวงพ่อลาคู่เมือง รุ่งเรืองอุตสาหกรรม แก่งงามล้ำลำน้ำป่าสัก พระตำหนักวังสีทา รำลึก ร. ๕ ผาเสด็จ เขตป่าเขางาม นามเมืองแก่งคอย
การคมนาคม การคมนาคมแบ่งเป็น 3 ทาง ได้แก่1.ทางบก - รถยนต์ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 - สถานีขนส่ง หมายเลขโทรศัพท์ 0-3620-255 - สถานีรถไฟ หมายเลขโทรศัพท์ 0-3624-4020 2.ทางน้ำ - ท่าเรือขนส่งโดยสาร หมายเลขโทรศัพท์ - - ท่าแพขนานยนต์ หมายเลขโทรศัพท์ - 3.ทางอากาศ - ท่าอากาศยาน หมายเลข โทรศัพท์ -
จบการนำเสนอเรื่องอำเภอแก่งคอยเท่านี้ครับจบการนำเสนอเรื่องอำเภอแก่งคอยเท่านี้ครับ ขอบคุณครับ