1.45k likes | 2.58k Views
การมีส่วนร่วมของประชาชน. ดร.ถวิลวดี บุรีกุล. การมีส่วนร่วม. สูง. มาก. การควบคุม โดยประชาชน. ติดตามตรวจสอบ. น้อย. จำนวน ประชาชน ที่เกี่ยวข้อง. ร่วมปฏิบัติ. ระดับของ การมีส่วนร่วม. ร่วมวางแผน. ปรึกษาหารือ. เปิดรับความคิดเห็น จากประชาชน. ให้ข้อมูล/รับข้อมูล. มาก. ต่ำ.
E N D
การมีส่วนร่วมของประชาชนการมีส่วนร่วมของประชาชน ดร.ถวิลวดี บุรีกุล
สูง มาก การควบคุม โดยประชาชน ติดตามตรวจสอบ น้อย จำนวน ประชาชน ที่เกี่ยวข้อง ร่วมปฏิบัติ ระดับของ การมีส่วนร่วม ร่วมวางแผน ปรึกษาหารือ เปิดรับความคิดเห็น จากประชาชน ให้ข้อมูล/รับข้อมูล มาก ต่ำ ระดับขั้นของการมีส่วนร่วม
เงื่อนไขพื้นฐานของการมีส่วนร่วมของประชาชนมี 3 ประการ คือ • 1)ต้องมีอิสรภาพ • 2) ต้องมีความเสมอภาค • 3) ต้องมีความสามารถ
กระบวนการประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมกระบวนการประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ร่วมวางแผน ร่วมติดตามตรวจสอบ ร่วมปฏิบัติ ร่วมจัดสรรประโยชน์
การมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์ มีกลุ่มเป้าหมาย มีกระบวนการ
องค์ประกอบของการมีส่วนร่วมมี 3 ด้าน คือ • 1)ต้องมีวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายชัดเจน • เป็นไปเพื่ออะไร ผู้เข้าร่วมจะได้ตัดสินใจถูกว่าควรเข้าร่วมหรือไม่2)ต้องมีกิจกรรมเป้าหมาย • ต้องระบุลักษณะของกิจกรรมว่ามีรูปแบบและลักษณะอย่างไร เพื่อที่ประชาชนจะได้ตัดสินใจว่าควรเข้าร่วมหรือไม่3) ต้องมีบุคคลหรือกลุ่มเป้าหมาย
วิเคราะห์ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย 3ผู้สนใจ 2โดยอ้อม 1 1โดยตรง
หลักธรรมาภิบาลในการจัดการทรัพยากรหลักธรรมาภิบาลในการจัดการทรัพยากร เน้นที่ประชาชน • รับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง เที่ยงตรง ทันการณ์และพอเพียง • สามารถเข้าถึงข้อมูลได้สะดวก ในกรณีที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายจะต้องไม่มากเกินไปจนประชาชนธรรมดาไม่สาสารถจ่ายได้ • มีส่วนร่วมในกระบวนการต่างๆตั้งแต่เริ่มแรก • การได้รับการบริการที่ดี • สามารถเรียกร้องค่าเสียหายได้ ประชาชนต้อง ภาครัฐ ภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม สื่อ NGOs
no finger point ไม่ชี้นิ้วว่ากัน
แผนการมีส่วนร่วม • 1วัตถุประสงค์ของแผน • 2การมีส่วนร่วม • เป้าหมาย • นโยบาย • ขั้นตอนการมีส่วนร่วม • 3 ข้อมูลที่จะเผยแพร่ • 4 การเข้าถึงกิจกรรมต่างๆของประชาชน • 5 การช่วยเหลือด้านเทคนิค • 6 การปรับปรุง แก้ไขแผน
Invert the Pyramid to Improve Service ปิรามิดของการบริการ TRADITIONAL ORGANIZATION • The 5 P’s increase toward the top of the organization. • People work for the level(s) above them. • Very little attention to customer satisfaction. ผู้บริหารสูงสุด Executives Managers Supervisors Frontline Personnel ผู้รับบริการ
ผู้รับบริการ CUSTOMER-ORIENTED ORGANIZATION Frontline Personnel • The customers are considered the most important to the success and survival of the organization. • The customer is the boss. People in the organization “work for” the customers. • The customers have the highest status, importance, and power. Supervisors Managers Executives Top Management
Inform ให้ข้อมูล • ให้ข้อมูลแก่สาธารณชนเพื่อให้เกิดความเข้าใจในปัญหา ทางเลือกและทางออก
Consult ปรึกษาหารือ • ได้รับข้อมูลย้อนกลับจากการวิเคราะห์ ทางเลือกและการตัดสินใจ
Involve วางแผนร่วมกัน ทำงานร่วมกัน • ทำงานร่วมกับสาธารณชนตลอดกระบวนการเพื่อให้แน่ใจว่ามีความเข้าใจในประเด็นสาธารณะและมีการพิจารณาของความห่วงกังวลของสาธารณชน
Collaborate ร่วมเป็นหุ้นส่วน • เป็นหุ้นส่วนร่วมกับสาธารณชนในแต่ละด้านของการตัดสินใจ รวมถึงการพัฒนาทางเลือกและการระบุทางออกที่เป็นที่พอใจร่วมกัน
Empower ให้อำนาจแก่ประชาชน • ให้สาธารณชนเป็นผู้ตัดสินใจขั้นสุดท้าย
สูง มาก การควบคุม โดยประชาชน ติดตามตรวจสอบ น้อย จำนวน ประชาชน ที่เกี่ยวข้อง ร่วมปฏิบัติ ระดับของ การมีส่วนร่วม ร่วมวางแผน ปรึกษาหารือ เปิดรับความคิดเห็น จากประชาชน ให้ข้อมูล/รับข้อมูล มาก ต่ำ ระดับขั้นของการมีส่วนร่วม
รูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนที่เหมาะสมสำหรับสังคมไทยรูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนที่เหมาะสมสำหรับสังคมไทย
I.การยอมรับ (Adoption) การมีส่วนร่วมจะมีมากขึ้นโครงการดำเนินไปได้และจะเริ่มมีข้อมูลย้อนกลับตลอดจนให้ข้อมูลของโครงการใหม่ๆได้หากจำเป็นต้องมี
การดำรงอยู่ร่วมกันอย่างพันธมิตรการดำรงอยู่ร่วมกันอย่างพันธมิตร
การรักษาให้คงอยู่ (Maintenance) • การให้การศึกษาและสิ่งจูงใจอย่างต่อเนื่องจะทำให้อัตราการมีส่วนร่วมสูงอยู่เสมอ
การวางแผนให้ประชาชนมีส่วนร่วมประกอบด้วยการวางแผนให้ประชาชนมีส่วนร่วมประกอบด้วย
1.สร้างความสนใจ 2.การเข้ามาเกี่ยวข้อง 3.เสนอแนวทางแก้ปัญหา 4.หาทางเลือก 5.ข้ออภิปราย, ข้อสรุป 6.ทางเลือก 7.ลงมือปฏิบัติ 8.การประเมินผล
เลือกอย่างไร • วัตถุประสงค์ของการใช้เทคนิค • ระดับของการมีส่วนร่วม • ระดับของการตัดสินใจ • ขอบเขตของการตัดสินใจ • รวบรวมข้อมูล • สร้างเกณฑ์ในการตัดสินใจ • พัฒนาทางเลือก • ประเมินทางเลือก • ตัดสินใจ
เกณฑ์ในการเลือกเครื่องมือเกณฑ์ในการเลือกเครื่องมือ • เทคนิคนี้จะทำให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างไร • ต้นทุนและทรัพยากรที่มี ที่สามารถนำมาใช้ได้ • เทคนิคนี้จะมีประสิทธิผลในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายมากน้อยแค่ไหน • ความสามารถในการใช้เทคนิคต่างๆ บุคลากรที่ต้องใช้ในการดำเนินการตามเทคนิคนี้
เกณฑ์ในการเลือกเครื่องมือเกณฑ์ในการเลือกเครื่องมือ • มีเวลาเพียงพอที่จะทำให้ใช้เทคนิคนี้ให้สำเร็จหรือไม่ • ประสบการณ์ของความสำเร็จในการใช้เทคนิคนี้กับสถานการณ์ที่ใกล้เคียงกัน กลุ่มคนใกล้เคียงกัน • เทคนิคนี้สอดคล้องกับสิ่งที่สาธารณชนต้องการเข้ามาเกี่ยวข้อง
เกณฑ์ในการเลือกเครื่องมือเกณฑ์ในการเลือกเครื่องมือ • เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดหรือไม่ • สถานการณ์ เหตุการณ์ที่อาจมีผลกระทบต่อการใช้เครื่องมือนี้ • ท่านสามารถหาความสนับสนุนจากภายในในการใช้เทคนิคนี้
ตัวอย่าง Involve level วางแผนร่วมกัน ขั้นการตัดสินใจ สร้างเกณฑ์ในการตัดสินใจ
ให้ข้อมูล • สร้างความตระหนัก • ให้ข้อมูล ให้การศึกษา
สร้างความตระหนัก • โทรศัพท์ สายด่วน จุดบริการข้อมูล งานนิทรรศการ
ให้ข้อมูล ให้การศึกษา • เปิดที่ทำการนอกสถานที่ • ศูนย์ข้อมูล • www • ศูนย์ข้อมูลกลาง • การสรุปข้อมูลให้ฟัง
ปรึกษาหารือ • ให้ข้อมูลย้อนกลับ • จดหมายข่าว รายงานความก้าวหน้า ส่งจดหมาย e-mail • ถามรายบุคคล(รวบรวมข้อมูล) • แบบแสดงความคิดเห็น • delphi • การให้ข้อคิดเห็นของผู้อยู่อาศัย • สัมภาษณ์
ทำวิจัย (รวบรวมข้อมูล) • survey • เปิดการประชุมสาธารณะ (รวมประชาชน) • ประชุมสาธารณะ • เปิดที่ทำการ • กระบวนการประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • สนทนากลุ่ม
การวางแผนร่วมกัน involve • เปิดการสนทนาแบบมีส่วนร่วม • รวมประชาชน • เปิดที่ทำการ • Samoan circle • Town meeting • World cafes • Workshops • Fishbowl • กระบวนการประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • สานเสวนา
ร่วมเป็นหุ้นส่วน • สร้างฉันทามติ • คณะที่ปรึกษา • กระบวนการประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • นิทรรศการเคลื่อนที่ • Study circle • computer assisted meeting • Poll • Future searches • Dialogue • Appreciative inquiry • Consensus conferences
ให้อำนาจแก่ประชาชน พลังประชาชน • ให้มีเวทีให้ประชาชนได้ตัดสินใจ • รวบรวมและประมวลข้อมูล • ออกเสียง • นำประชาชนมารวมกัน ประชุมกัน • กลุ่มผู้มีอำนาจหน้าที่ • คณะตุลาการภาคประชาชน