1 / 24

การดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดอุทัยธานี”

การดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดอุทัยธานี”. การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ ของจังหวัดอุทัยธานี ปี 54. เริ่มต้นในปี 25 54 ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกับทุกอำเภอ ทุกอำเภอ สสอ.เลือกเป็นตัวชี้วัดความดีความชอบของ สสอ.

onan
Download Presentation

การดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดอุทัยธานี”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินงาน“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนจังหวัดอุทัยธานี”การดำเนินงาน“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนจังหวัดอุทัยธานี”

  2. การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯของจังหวัดอุทัยธานี ปี 54 เริ่มต้นในปี 2554 ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกับทุกอำเภอ ทุกอำเภอ สสอ.เลือกเป็นตัวชี้วัดความดีความชอบของ สสอ. จัดตั้งทีมประเมินผลการดำเนินงาน (คัดเลือกจากผู้ปฏิบัติงาน ระดับ รพ.สต., สสอ. , รพช. และ สสจ.) เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบข้อมูลระบาด โดยการประเมินมาตรฐาน SRRT และ มาตรฐานระบาดร่วมด้วย ดำเนินการประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงานทั้ง 2 ครั้ง

  3. การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯของจังหวัดอุทัยธานี ปี 54 มอบรางวัลดีเด่นระดับจังหวัด อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ ดีเด่น คนดีศรีระบาดดีเด่น (หมู่บ้าน, รพ.สต., อำเภอ และ รพช.) SRRT รพ.สต.ดีเด่น รายงานการสอบสวนโรคดีเด่น

  4. การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯของจังหวัดอุทัยธานี ปี 55 ปี 2555มีส่วนที่ดำเนินการเพิ่มเติมจากปี 2554 คือ จัดตั้งคณะทำงานระดับจังหวัดและทีมประเมินผล โดยบูรณาการร่วมทุกฝ่ายบนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (ยุทธศาสตร์ฯ, คร และ คบส) นพ.สสจ. มีนโยบายจัดทำ PCHA (ระบบคุณภาพแบบบูรณาการ) เป็นอีก 1 กระบวนการดำเนินงานที่เน้นการบูรณาการทั้งระบบ ทั้งทางด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และรักษาพยาบาล

  5. การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯของจังหวัดอุทัยธานี ปี 56 ปี 2556มีส่วนที่ดำเนินการเพิ่มเติมจากปี 2555 คือ จัดตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานจังหวัดเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จังหวัดอุทัยธานี โดยบูรณาการหน่วยงานทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องระดับจังหวัด ได้แก่ มหาดไทย, ปภ., อบจ., เกษตร, ปศุสัตว์, ศึกษา, พม., ทส. ฯลฯ จะจัดประชุมในวันที่ 25 มีนาคม 2556 โดยมีท่านรองผู้ว่าฯ เป็นประธาน

  6. ผลการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯของจังหวัดอุทัยธานี ปี 54-55 ปี 2554 อำเภอสว่างอารมณ์ ได้รับการคัดเลือกเป็นอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนดีเด่นระดับเขต ปี 2555 อำเภอสว่างอารมณ์ ได้รับการคัดเลือกเป็นอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนดีเด่นระดับเขต

  7. สรุปโรคที่อำเภอเลือกในการประเมินตนเองอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนปี 2556 ครั้งที่ 1 อำเภอ นโยบาย ปัญหาในพื้นที่ เมืองอุทัยธานี ไข้เลือดออก อุจจาระร่วง ทัพทัน NCD วัณโรค สว่างอารมณ์ ไข้เลือดออก วัณโรค หนองฉาง ไข้เลือดออก อุบัติเหตุจราจร หนองขาหย่าง NCD ไข้เลือดออก บ้านไร่ ไข้เลือดออก วัณโรค ลานสัก ไข้เลือดออก วัณโรค ห้วยคต ไข้เลือดออก วัณโรค

  8. นโยบายผู้บริหาร อำเภอ+จังหวัดเข้มแข็งฯ ผู้ประเมิน ผู้ปฏิบัติ ผู้มีส่วนสำคัญในการดำเนินงานอำเภอ+จังหวัดเข้มแข็ง

  9. 25 ธ.ค.2555 บทบาทการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน สสจ.อุทัยธานี ส่งเสริม สนับสนุน สสจ.อุทัยธานี ประสานงาน ประเมินผล

  10. 25 ธ.ค.2555 การประสานงานจังหวัด เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดอุทัยธานี มหาดไทย อบจ ปชส. ทส ท้องถิ่น สสจ.อุทัยธานี ศธ ประมง พช กษ พม. ปศุสัตว์

  11. ความก้าวหน้าการดำเนินงานจังหวัดเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพเข้มแข็งฯ จังหวัดอุทัยธานี ปี 56 มีการประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานจังหวัดเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดอุทัยธานี ครั้งที่ 1 วันที่ 25 มีนาคม 2556 ณ ห้องประชุมสะแกกรัง ชั้น 5 ศาลากลางจังหวัดอุทัยธานี เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่คณะทำงาน โดยมีข้อสั่งการจากประธานฯ ให้จัดทำแผนยุทธศาสตร์จังหวัดเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพเข้มแข็งฯ จังหวัดอุทัยธานี โดยให้นำเข้าที่ประชุมในครั้งที่ 2/2556

  12. ความก้าวหน้าการดำเนินงานจังหวัดเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพเข้มแข็งฯ จังหวัดอุทัยธานี ปี 56 มีการประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานจังหวัดเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดอุทัยธานี ครั้งที่ 2 วันที่ 12 มิถุนายน 2556 ณ ห้องประชุมสะแกกรัง ชั้น 5 ศาลากลางจังหวัดอุทัยธานี เพื่อระดมความคิดและร่วมกันจัดทำแผนยุทธศาสตร์จังหวัดเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพเข้มแข็งฯ จังหวัดอุทัยธานี

  13. ความก้าวหน้าการดำเนินงานจังหวัดเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพเข้มแข็งฯ จังหวัดอุทัยธานี ปี 56 การเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก มีการจัดตั้ง warroom ที่ สสจ.อุทัยธานี และระดับอำเภอ เพื่อสั่งการ กำกับ ติดตามผลและสนับสนุน ตั้งแต่เดือนเมษายน 2556 การเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ระบาด มีการซ้อมแผนเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่/ไข้หวัดนก โดยสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และสำนักงาน ปภ. (6 มิ.ย. 56)

  14. ความก้าวหน้าการดำเนินงานจังหวัดเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพเข้มแข็งฯ จังหวัดอุทัยธานี ปี 56 การเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ระบาด มีประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพทีม SRRT เพื่อพัฒนาทักษะด้านการสอบสวน ควบคุมโรค และเขียนรายงานการสอบสวนโรค ถอดบทเรียนการดำเนินการป้องกันควบคุมโรค ( 29 - 31 พ.ค. 56) มีการอบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอในการแก้ไขปัญหาอาหารเป็นพิษในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (13-14 มิ.ย.56) จัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์เรื่องอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก กระจายลงไปในพื้นที่ทุกอำเภอ

  15. ความก้าวหน้าการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯของจังหวัดอุทัยธานี ปี 56 ขณะนี้มีการประเมินผลการดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ ไปแล้ว 2 ครั้ง ผลการประเมินครั้งที่ 1 (มีนาคม 56) ไม่มีอำเภอใดผ่านเกณฑ์การประเมิน ผลการประเมินครั้งที่ 2 (พฤษภาคม 56) อยู่ระหว่างการสรุปผลคะแนน

  16. การดำเนินงานจังหวัดเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดอุทัยธานี

  17. องค์ประกอบของการดำเนินงานจังหวัดเข้มแข็งฯ จังหวัดอุทัยธานี ราชการ สธ.,มท.,ศธ,กษ,ทส,พมฯลฯ บูรณาการทั้ง 3 ภาคส่วน ท้องถิ่น อบจ.,อปท ประชาชน อสม.,ผู้นำฯ,องค์กรเอกชน คำสั่งจังหวัดอุทัยธานี ที่ 426/2556 ลว 14 กุมภาพันธ์ 2556

  18. ความจำเป็นของการบูรณาการงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระดับจังหวัด ระดับอำเภอมีการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน มาตั้งแต่ปี 2554 การดำเนินงานระดับอำเภอบางครั้ง ยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร หากมีการบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องระดับจังหวัด และขับเคลื่อนไปพร้อมๆ กัน จะทำให้ผลการดำเนินงานระดับล่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

  19. ความจำเป็นของการบูรณาการงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระดับจังหวัด การดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพเพียงสาธารณสุข หน่วยงานเดียวอาจทำให้ผลการดำเนินงาน ไม่มีได้ผลดี หรือมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เช่น โรคระบาดต่าง เช่น ไข้เลือดออก , ไข้หวัดใหญ่ , ไข้หวัดนก , มือเท้าปาก , อาหารเป็นพิษ , ทริคิโนซิส โรคไม่ติดต่อ เช่น โรคเบาหวาน , ความดันโลหิตสูง , โรคหัวใจ ความปลอดภัยทางด้านอาหาร

  20. ความจำเป็นของการบูรณาการงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระดับจังหวัด ลดขั้นตอนในการประสานงานส่งต่อข้อมูลอย่างรวดเร็วผ่านช่องทาง E-mail หรือ sms ดำเนินการป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว ลดความสูญเสียในสถานที่ต่างๆ เช่น โรงเรียน , โรงงาน , ฟาร์มปศุสัตว์ , รีสอร์ท ,โรงแรม ฯลฯ สรุปประเมินผลเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการดำเนินงาน ปีละ 2 ครั้ง

  21. “ สามัคคี ร่วมใจ เมืองอุทัยฯ แข็งแรง ”

More Related