1 / 21

เครื่องมือในการคัดเลือก ทรัพยากรสารสนเทศ

เครื่องมือในการคัดเลือก ทรัพยากรสารสนเทศ. อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน. ประโยชน์ของเครื่องมือในการคัดเลือกฯ. ช่วยให้ทราบข่าวเกี่ยวกับหนังสือ หรือวัสดุสารสนเทศใหม่ๆ ช่วยประกอบการตัดสินใจเลือกซื้อ ช่วยในการประเมินคุณค่าวัสดุ โดยเฉพาะกรณีไม่ได้เห็นตัวเล่ม

olwen
Download Presentation

เครื่องมือในการคัดเลือก ทรัพยากรสารสนเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เครื่องมือในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศเครื่องมือในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  2. ประโยชน์ของเครื่องมือในการคัดเลือกฯประโยชน์ของเครื่องมือในการคัดเลือกฯ • ช่วยให้ทราบข่าวเกี่ยวกับหนังสือ หรือวัสดุสารสนเทศใหม่ๆ • ช่วยประกอบการตัดสินใจเลือกซื้อ • ช่วยในการประเมินคุณค่าวัสดุ โดยเฉพาะกรณีไม่ได้เห็นตัวเล่ม • ให้รายละเอียดทางบรรณานุกรม และรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับการจำหน่าย • ช่วยแนะนำการอ่าน เช่น ความเหมาะสมกับวัยผู้อ่าน

  3. ประเภทเครื่องมือในการคัดเลือกประเภทเครื่องมือในการคัดเลือก • บรรณานุกรม • บทวิจารณ์ การแนะนำทรัพยากรสารสนเทศ • รายชื่อทรัพยากรของห้องสมุดต่างๆ • เว็บไซต์สำนักพิมพ์ และผู้จำหน่าย • โฆษณาและแจ้งความ • แหล่งอื่นๆ

  4. บรรณานุกรม 1. บรรณานุกรมแห่งชาติ 2. บรรณานุกรมเฉพาะสาขาวิชา 3. บรรณานุกรมเฉพาะหน่วยงานหรือองค์กร 4. บรรณานุกรมเฉพาะกลุ่มผู้อ่าน 5. บรรณานุกรมตามประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ

  5. บรรณานุกรม • Books In Print : BIP. • Paperbound Books In Print : PBIP • บรรณานุกรมแห่งชาติ. • บรรณานุกรมหนังสือสำหรับเด็ก • บรรณานุกรมงานวิจัย

  6. บทวิจารณ์ การแนะนำทรัพยากรสารสนเทศ • วิจารณ์และแนะนําทรัพยากรสารสนเทศที่ออกมาสู่ท้องตลาดอย่างสม่ำเสมอ บทวิจารณ์และแนะนําทรัพยากรสารสนเทศอาจปรากฏเป็นบทความและคอลัมน์ต่างๆในวารสารและหนังสือพิมพ์ ตีพิมพ์เป็นหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์ของห้องสมุดซึ่งมักจัดทําเป็นรูปแบบวารสารหรือจดหมายข่าว

  7. รายชื่อทรัพยากรของห้องสมุดต่างๆรายชื่อทรัพยากรของห้องสมุดต่างๆ • รวบรวมรายชื่อหรือบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด ซึ่งอาจรวบรวมรายชื่อทั้งหมดหรือเฉพาะสาขาวิชา เพื่อเผยแพร่ให้ห้องสมุดอื่น หน่วยงานสมาชิกห้องสมุด หรือผู้ที่สนใจ โดยจัดทําเป็นรายเดือนหรือรายปี

  8. เว็บไซต์สำนักพิมพ์ และผู้จำหน่าย • ปัจจุบันสำนักพิมพ์ และหน่วยงานที่จัดทำหนังสือหรือวัสดุสารสนเทศได้จัดทำคู่มือในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศเผยแพร่บนเว็บไซต์ เช่น • Amazon • dokya • se-ed • Kluwer Academic • NationalAcademiesPress • Book Sellers Association • AmericanUniversityPresses

  9. โฆษณาและแจ้งความ • เป็นการโฆษณาหนังสือและสิ่งพิมพ์ของสำนักพิมพ์ ผู้ผลิต หรือร้านจำหน่ายหนังสือ โดยตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ วารสาร หรือจัดทำเป็นแผ่นปลิว

  10. แหล่งอื่นๆ • รายชื่อหนังสือในหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ต่างๆ • รายชื่อวารสารที่ปรากฏในดัชนีวารสารและวารสารสาระสังเขป • รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศที่ได้รับการเสนอจากผู้เชี่ยวชาญ • รายการแนะนําวรรณกรรมหรือสนทนากับนักเขียนทางสื่อวิทยุหรือโทรทัศน์ • การบรรยายอภิปราย หรือสัมมนาที่เกี่ยวกับนักเขียนหรือวรรณกรรม • นิทรรศการเกี่ยวกับนักเขียนและวรรณกรรมต่างๆซึ่งอาจจัดโดยสํานักพิมพ์ ร้านจําหน่ายหนังสือ หรือห้องสมุด

  11. แหล่งอื่นๆ •ผลการประกวดและรางวัลต่าง ๆ จำแนกได้เป็น 2 ส่วน ดังนี้ 1. การประกวดและรางวัลสำหรับทรัพยากรสารสนเทศโดยตรง เช่น-การประกวดหนังสือดีเด่นประจำปี ของคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแห่งชาติ -รางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซี่ยน : รางวัลซีไรท์. -รางวัลโนเบล สาขาวรรณกรรม.-รางวัลพูลิชเซอร์.-รางวัลวรรณกรรมบัวหลวง. ของธนาคารกรุงเทพ-รางวัลหนังสือสำหรับเด็กประเภทภาพดีเด่น (Caldecott)-รางวัลหนังสือสำหรับเด็กประเภทเนื้อเรื่องยอดเยี่ยม (Newbery)

  12. แหล่งอื่นๆ 2. การประกวดอื่น จะใช้ผลการประกวดเหล่านั้นเพื่อประกอบการตัดสินใจเลือก การใช้ประโยชน์จะขึ้นอยู่กับ ดุลพินิจและหลักการประเมินคุณค่าของทรัพยากรสารสนเทศที่เป็นผลงานอันเนื่องมาจากการประกวดหรือผู้ที่ได้รับรางวัลอันทรงเกียรตินั้น เช่น -รางวัลแกรมมี-รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ-รางวัลพระสุรัสวดี- รางวัลเมขลา- นักกีฬาดีเด่น-นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น-การประกวดหนังสั้น

  13. แหล่งอื่นๆ บุคคลสาธารณะ เช่นดารานักแสดง นักร้อง นักการเมือง นักเศรษฐศาสตร์ที่ได้สร้างสรรค์ทรัพยากรสารสนเทศขึ้นเผยแพร่ซึ่งจะเป็นการประกันคุณภาพทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ ได้ดี เพราะบุคคลเหล่านี้ย่อมต้องรักษาคุณภาพของตนเองและคุณภาพของผลงานที่สร้างสรรค์นั้นไปพร้อมกัน  ทรัพยากรสารสนเทศต้องห้าม ท้ายสุดนี้เป็นข้อพึงหลีกเลี่ยงการเลือกทรัพยากรสารสนเทศที่ไม่เหมาะในการนำมาบริการแก่ผู้ใช้ เช่น              1. เนื้อหาลามกอนาจาร ผิดศีลธรรมจรรยาขนบประเพณี              2. เนื้อหาผิดหลักธรรมในศาสนา              3. เนื้อหาเป็นภัยต่อระบอบการเมืองการปกครอง              4. เนื้อหายุยงส่อเสียดมุ่งร้ายต่อผู้อื่น

  14. ข้อควรพิจารณาในการใช้เครื่องมือคัดเลือกฯข้อควรพิจารณาในการใช้เครื่องมือคัดเลือกฯ • ศึกษาการใช้เครื่องมือ ความถูกต้อง น่าเชื่อถือ ข้อดีข้อจำกัดของเครื่องมือ • ใช้ความรู้ ประสบการณ์ ความคิด และบทวิจารณ์ประกอบการใช้เครื่องก่อนการตัดสินใจ • ติดตามความเคลื่อนไหวของเครื่องมืออยู่เสมอ

  15. ตัวอย่างเครื่องมือในการเลือกตัวอย่างเครื่องมือในการเลือก • Tools for Book Selection • World Wide Web Book Selection Tools • นายอินทร์ • เอเชียนบุ๊คส์ • PBforBook • หนังสือดีเด่นแห่งชาติ

More Related