1 / 28

2. แหล่งกำเนิดแสง (Light Sources)

2. แหล่งกำเนิดแสง (Light Sources). ในการถ่ายรูป แสงเป็นแสงที่มาจากแหล่งกำเนิด แล้วไปสะท้อน ที่วัตถุเข้ามายังกล้องถ่ายรูป ซึ่งแหล่งกำเนิดแสง แบ่งเป็น แหล่งกำเนิดแสงธรรมชาติ แหล่งกำเนิดแสงประดิษฐ์. แหล่งกำเนิดแสงประดิษฐ์. แบ่งเป็น 4 จำพวกใหญ่ๆ ตามลักษณะการเกิด คือ

olivia-hyde
Download Presentation

2. แหล่งกำเนิดแสง (Light Sources)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 2. แหล่งกำเนิดแสง (Light Sources) ในการถ่ายรูป แสงเป็นแสงที่มาจากแหล่งกำเนิด แล้วไปสะท้อน ที่วัตถุเข้ามายังกล้องถ่ายรูป ซึ่งแหล่งกำเนิดแสง แบ่งเป็น แหล่งกำเนิดแสงธรรมชาติ แหล่งกำเนิดแสงประดิษฐ์

  2. แหล่งกำเนิดแสงประดิษฐ์แหล่งกำเนิดแสงประดิษฐ์ แบ่งเป็น 4 จำพวกใหญ่ๆ ตามลักษณะการเกิด คือ 1 โดยการเผาไหม้ เช่น ตะเกียง ผงไฟแวบ ใยแมกนีเซียม 2 โดยการเผาให้ร้อน เช่น หลอดไฟ 3 โดยการให้ไฟอาร์ค เช่น คาร์บอนอาร์ค 4 โดยการผ่านกระแสไฟฟ้าไปในไอปรอทหรือก๊าซเฉื่อย

  3. 1 โดยการเผาไหม้ เช่น ตะเกียง ผงไฟแวบ ใยแมกนีเซียม

  4. 2 โดยการเผาให้ร้อน เช่น หลอดไฟ

  5. 3 โดยการให้ไฟอาร์ค เช่น คาร์บอนอาร์ค

  6. 4 โดยการผ่านกระแสไฟฟ้าไปในไอปรอทหรือก๊าซเฉื่อย

  7. 2.1 ลักษณะของแหล่งกำเนิดแสง ลักษณะสำคัญๆของแหล่งกำเนิดแสงในแง่ของการถ่ายรูป มีดังนี้ 1 คุณภาพสเปคตรัม (Spectrum quality) 2 กำลังส่องสว่าง (Light output) 3 ขนาด (Size) 4 ประสิทธิภาพ (Efficiency) 5 ราคา (Cost) 6 ความคงที่ของการให้แสง (Constancy of output) 7 ความสะดวก (Convenience)

  8. 2.1.1 คุณภาพสเปคตรัม คุณภาพของสเปคตรัมขึ้นกับการกระจายแสงในสเปคตรัม หรือ สัดส่วนของพลังงานต่อแต่ละความยาวคลื่น แสงขาวจากแสง อาทิตย์ จะมีคุณภาพสเปคตรัมไม่เหมือนกับแสงขาวจากหลอด ไฟฟ้าบางชนิด ซึ่งคุณภาพสเปคตรัมมีความสำคัญมากในการ ถ่ายภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการถ่ายภาพสี

  9. คุณภาพสเปคตรัมสามารถกำหนดได้จากวิธีการดังต่อไปนี้ ก. โดยวิธีการเขียนกราฟ เรียกว่า spectral energy distribution curve ได้จากการเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พลังงานของแหล่งกำเนิดแสงกับความยาวคลื่น ข. โดยคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของการแผ่รังสีในแถบสีทั้งหมดของ สเปคตรัม เช่น น้ำเงิน, เขียว และ แดง ค. โดยบันทึกเป็นอุณหภูมิสี(color temperature)

  10. ตัวอย่างข้อแตกต่างของคุณภาพสเปคตรัมของแหล่งกำเนิด 3 ชนิด ที่มองด้วยตาเปล่าเห็นเป็นสีขาว คือ แสงอาทิตย์, หลอดไฟฟ้าชนิด ไส้ และแสงจากท้องฟ้าสีน้ำเงิน โดยวิธีเขียนกราฟ energy 200 150 100 50 Tungsten filament lamp Mean noon sunlight Blue sky 400 500 600 700 800 l (nm)

  11. การหาค่าคุณภาพสเปคตรัมโดยคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ หาค่าได้ อย่างหยาบๆ โดยแบ่งสเปคตรัมออกเป็น 3 แถบใหญ่ๆ คือ น้ำเงิน-ม่วง , เขียว และแดง หาได้จากแถบสเปคตรัมที่ปรากฏ บนจอ แล้ววัดระยะความกว้างของแถบสี แล้วนำมาคำนวณเป็น เปอร์เซ็นต์ของช่วงสเปคตรัมทั้งหมด

  12. อุณหภูมิสี คำจำกัดความของอุณหภูมิสีของแหล่งกำเนิดแสงของ วัตถุใด คือ “อุณหภูมิของตัวแผ่รังสีสมบูรณ์(black body) ซึ่งให้ การแผ่รังสีอย่างแน่นอนในช่วงแถบสีเดียวกันหรือเท่ากัน เหมือน กับการแผ่รังสีจากแหล่งกำเนิดแสงและให้สีเดียวกัน” หน่วยเป็นเคลวิน(Kelvin, K) เปรียบเทียบกันการพิจารณาเหล็กเขี่ยไฟ ซึ่งตอนแรกจะเป็นสีดำ เมื่อได้รับความร้อนจะเริ่มร้อนแดง และสีจะเปลี่ยนไปตามอุณหภูมิ จนในที่สุดจะเป็นสีขาว

  13. อุณหภูมิของแหล่งกำเนิดแสงบางชนิดอุณหภูมิของแหล่งกำเนิดแสงบางชนิด

  14. 2.1.2 กำลังส่องสว่าง(Light output) ก) Luminous intensity หมายถึงกำลังส่องสว่าง เมื่อนำ แหล่งกำเนิดแสงไปเปรียบเทียบกับดวงไฟมาตรฐาน เช่น เทียบกับ เทียนไขมาตรฐาน มีหน่วยเป็นกำลังเทียน(candela) ข) Luminance หมายถึงความเข้มแห่งการส่องสว่าง กำหนด จาก luminous intensity ต่อหน่วยพื้นที่ มีหน่วยเป็น candela/m2 ระบบนี้นิยมใช้ในการถ่ายรูป

  15. ค) Luminous flux หมายถึงจำนวนแสงที่ให้ออกมาจาก แหล่งกำเนิดต่อหน่วยมุมตัน มีหน่วยเป็นลูเมนส์(lumens) ถ้า แหล่งกำเนิดแสงเป็นจุดกระจายความเข้มทุกทิศทาง 1 แรงเทียน มุมรองรับจะเท่ากับ 4p steradiantsจะเท่ากับ 12.5 ลูเมนส์ ส่วนใหญ่การวัดแสงเป็นลูเมนส์เหมาะที่จะใช้วัดกำลังไฟ จากแหล่งกำเนิดแสง, จากเครื่องสะท้อน(reflector),

  16. 2.1.3 ขนาด(Size) ขนาดของแหล่งกำเนิดแสงจะเป็นตัวกำหนดขนาดของเงา 2.1.4 ประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพของหลอดไฟ คืออัตราส่วนระหว่าง luminous flux กับกำลังไฟฟ้าที่ใช้ นิยมวัดเป็น lumens/watt 2.1.5 ราคา ราคาที่จ่ายคุ้มหรือไม่กับงานที่ทำอยู่ 2.1.6 ความคงที่ของการให้แสง 2.1.7ความสะดวกในการใช้งาน

  17. 2.2 ลักษณะของแหล่งกำเนิดแสงบางชนิดที่ใช้ใน การถ่ายรูป 2.2.1 แสงกลางวัน (Daylight) แสงจากดวงอาทิตย์ แสงจากท้องฟ้า แสงสะท้อนจากเมฆ มาตรฐานในการถ่ายรูปจะกำหนดแสงที่เหมาะสมคือ ค่าเฉลี่ย อุณหภูมิสีของแสงตอนเที่ยงวันที่ Wachington D.C.เรียกว่า mean noon sunlight (5400 K)

  18. 2.2.2 หลอดไฟไส้ทังสเตน 15-1500 วัตต์ อุณหภูมิสีประมาณ 2400 K ถ้าบรรจุก๊าซ บางชนิด ประสิทธิภาพจะสูงขึ้น 2.2.3 หลอดไฟสำหรับถ่ายรูป(Photographic lamp) ขนาด 500 วัตต์ ให้อุณหภูมิสี 3200 K 2.2.4 หลอดฮาโลเจนไส้ทังสเตน 50-200 วัตต์ ให้อุณหภูมิสีตั้งแต่ 2500 - 3400 K

  19. 2.2.5 ไฟอาร์ค-คาร์บอน(Carbon arc lamp) บางครั้งการถ่ายรูปต้องการความสว่างสูง จึงใช้ไฟอาร์ค มีอุณหภูมิสีช่วง 3800 - 6000 K 2.2.6 หลอดไอปรอท(Mercury vapour discharge lamp) ให้แสงนวล เหมาะกับการถ่ายรูปในห้องสตูดิโอ 2.2.7 หลอดเรืองแสง(Fluorescent lamp) หมายถึงไฟที่ใช้ตามบ้านเรือนทั่วไป warm light 3000 K daylight 6500 K

  20. 2.2.8 หลอดไอโซเดียม(Sodium vapour discharge lamp) เป็นหลอดที่ให้แสงสีเหลืองประมาณ 95 % 2.2.9 หลอดไฟแวบ(Flash bulb) ภายในหลอดจะมีเส้นโลหะอยู่ และภายในหลอดจะบรรจุ ก๊าซออกซิเจนความดันต่ำ เส้นโลหะจะเป็น Zirconium หรือโลหะ อย่างอื่น ใช้กับไฟฟ้า 3 - 30 V จะให้สเปคตรัมต่อเนื่องซึ่งมี อุณหภูมิสีประมาณ 3800 K ระยะเวลาที่ไฟสว่างประมาณ 1/100 ถึง 1/50 วินาที

  21. สมบัติของหลอดไฟแวบ

  22. ก. Effective flash duration ข. เวลาถึงฮาฟพีค ค. เวลาถึงพีค ง. กำลังส่องสว่างทั้งหมด จ. ลูมินัสฟลักซ์สูงสุด

  23. ชนิดของหลอดไฟแวบ Class MF(medium fast) เป็นหลอดไฟเล็กๆ มีeffective duration ประมาณ 12 ms เวลาถึงพีคเป็น 10-16 ms

  24. Class M (medium) เวลาถึงพีคประมาณ 15-25 ms ช่วงเวลา ใช้ประโยชน์ประมาณ 15 ms

  25. Class S (Slow) เวลาถึงพีคประมาณ 27-33 ms เวลาใช้ประโยชน์ ประมาณ 20 ms

  26. Class FP (focal-plane)

  27. GuideNumber= f-stop X distance most flash GNs are rated for an ISO 100 film. If you use a film with a lower ISO the GN will be lower, and, conversely, if you use a higher speed film the GN will be higher. But doubling the ISO does not double the GN, as many might expect. If f11 is best, then by simply following the GN formula GN= f11 X 10 feet, you’ll get a GN of 110 for ISO 100 film. If you use ISO 50 film, the GN is NOT 55. Since ISO 50 is one stop less light sensitive than ISO 100, you’d have an aperture of f8 at ten feet with the same light source. Following the formula, GN=f-stop X distance, you’d have GN= f8 x 10 feet or GN of 80.

  28. ภาพสุดโหด ปล่อยหมากัดม๊อบ งับจมเขี้ยว

More Related