160 likes | 298 Views
ภูมิหลังด้านทรัพยากรพันธุกรรม. ชุติมา รัตนเสถียร นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ กองคุ้มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร. ทรัพยากรพันธุกรรม. พืช สัตว์ จุลชีพ. 25/10/57. 2. ถิ่นที่อยู่. ธรรมชาติในถิ่นที่อยู่เดิม นำมาเก็บรวบรวม (ธนาคาร, พิพิธพันธ์....) ในฟาร์ม. ธรรมชาติ. พืช.
E N D
ภูมิหลังด้านทรัพยากรพันธุกรรมภูมิหลังด้านทรัพยากรพันธุกรรม ชุติมา รัตนเสถียร นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ กองคุ้มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร
ทรัพยากรพันธุกรรม • พืช • สัตว์ • จุลชีพ 25/10/57 2
ถิ่นที่อยู่ • ธรรมชาติในถิ่นที่อยู่เดิม • นำมาเก็บรวบรวม (ธนาคาร, พิพิธพันธ์....) • ในฟาร์ม
ธรรมชาติ พืช ป่าสงวนฯ อุทยานฯ น้ำ ที่ยังไม่มีการนำมาใช้ประโยชน์ (เห็ดโคน)
ธรรมชาติ สัตว์ ป่าสงวนฯ อุทยานฯ น้ำ ที่ยังไม่มีการนำมาใช้ประโยชน์ (สุนัข)
ธรรมชาติ จุลชีพ ทุกที่
นอกถิ่นที่อยู่ พืช • ธนาคารเชื้อพันธุ์ กรมวิชาการเกษตร, กรมข้าว, ม.เกษตร • แปลงรวบรวมพันธุ์ โครงการอนุรักษ์อันเนื่องมาจาก พระราชดำริภาครัฐ ชุมชน เอกชน • แปลงปลูกของเกษตรบุคคลทั่วไป
นอกถิ่นที่อยู่ สัตว์ • ธนาคารเชื้อพันธุ์สัตว์น้ำ กรมประมง • ธนาคารโค กระบือกรมปศุสัตว์ • การรวบรวมพันธุ์ โครงการอนุรักษ์อันเนื่องมาจาก พระราชดำริพิพิธพันธ์สัตว์น้ำ กรมประมง, ภาครัฐ ชุมชน เอกชน, การรวบรวมพันธุ์สัตว์พื้นเมือง สัตว์หายาก และ สัตว์ใกล้สูญพันธุ์
นอกถิ่นที่อยู่ จุลชีพ • ศูนย์เก็บรักษาและรวบรวมข้อมูลจุลินทรีย์สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย • หน่วยปฏิบัติการเก็บรักษาสายพันธุ์จุลินทรีย์เฉพาะทางศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ • หน่วยเก็บรักษาจุลินทรีย์ทางการแพทย์กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ • หน่วยเก็บรักษาจุลินทรีย์ทางการเกษตรกรมวิชาการเกษตร • ศูนย์รวบรวมเชื้อจุลชีพ ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาล โรงงานอุตสาหกรรมและ สถาบันการศึกษาต่างๆ
กฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้อง • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 • พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 แก้ไขเพิ่มเติมถึง พ.ศ. 2532 • พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 • พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 • พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 • พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507
กฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้อง • พระราชบัญญัติบำรุงพันธุ์สัตว์ พ.ศ. 2509 • พระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ.ศ. 2518 และพระราชบัญญัติพันธุ์ พืช (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 • พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2535 • พระราชบัญญัติการส่งออกไปนอกและนำเข้าในราชอาณาจักร ซึ่งสินค้า พ.ศ. 2522
กฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้อง • พระราชบัญญัติพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. 2534 • พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 • พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ พ.ศ. 2535 • พระราชบัญญัติสวนป่า พ.ศ. 2535 • พระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. ...
กฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้อง • พระราชบัญญัติการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์ แผนไทย พ.ศ. 2542 • พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 • (ร่าง) พระราชบัญญัติส่งเสริมและอนุรักษ์พันธุ์สัตว์พื้นเมือง พ.ศ.... • (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลาย ทางชีวภาพแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการเข้าถึง ทรัพยากรชีวภาพและการได้รับผลประโยชน์ตอบแทน พ.ศ.... • ระเบียบกรมวิชาการเกษตรว่าด้วยหลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยน ส่วนขยายพันธุ์พืชระหว่างประเทศ พ.ศ. 2531 • MTA
ข้อคิด การปกป้องทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทยให้ได้ผลจึงต้องเริ่มจากการเข้าใจแก่นแท้ของปัญหาและโลกทัศน์ที่ผลักดันอยู่เบื้องหลัง การอนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพจึงไม่ควรมุ่งเน้นเพียงตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ควรต้องคำนึงถึงทรัพยากรชีวภาพในมิติของความสัมพันธ์กับสรรพชีวิต ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมมิฉะนั้นแล้วการปกป้องทรัพยากรชีวภาพที่บรรพบุรุษของเราได้สร้างสรรค์ สั่งสมและส่งผ่านต่อมาถึงปัจจุบันคงต้องล่มสลายไปในที่สุด
ข้อคิด กรณีของปทุมมา กฎกระทรวงฯ - คณะทำงาน 5 คน พิจารณาต่อรอง - อัตราร้อยละ…ของยอด จำหน่าย สุทธิ หรือของ รายได้ที่เกิดขึ้นทั้งปี (ผู้เข้าถึง+ชุมชน) ? (ผู้เข้าถึง+รัฐ) ต้นทุน ค่าใช้จ่ายขายและบริหาร (ค่าน้ำ ค่าไฟ คนงาน ค่าเสื่อม) ยอดขายสุทธิ 3 > 1+2 = กำไร (ผลประโยชน์) บัญชีรวม/แยก ??? (ABS + ความซื่อสัตย์)