1 / 35

ทิศทางและ โอกาส ของ อุตสาหกรรมเกษตรไทย

ทิศทางและ โอกาส ของ อุตสาหกรรมเกษตรไทย. นาง ดรุณี เอ็ด เวิร์ดส์ สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหารแห่งประเทศไทย. Food Science and Technology Association of Thailand (FoSTAT) www.fostat.org. FoSTAT. เป็น องค์กรอิสระทางด้านวิชาชีพไม่มุ่งเน้นผลกำไร ก่อตั้ง เมื่อปี พ.ศ. 2519

olesia
Download Presentation

ทิศทางและ โอกาส ของ อุตสาหกรรมเกษตรไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางและโอกาสของอุตสาหกรรมเกษตรไทยทิศทางและโอกาสของอุตสาหกรรมเกษตรไทย นางดรุณี เอ็ดเวิร์ดส์ สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหารแห่งประเทศไทย

  2. Food Science and Technology Association of Thailand (FoSTAT) www.fostat.org

  3. FoSTAT • เป็นองค์กรอิสระทางด้านวิชาชีพไม่มุ่งเน้นผลกำไร • ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2519 วัตถุประสงค์ • พัฒนาวิชาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านอาหาร • พัฒนาบุคลากรที่จะสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหาร

  4. FoSTAT นโยบาย ผลักดันให้เกิดความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านอาหารของประเทศอย่างยั่งยืน พันธกิจ • เป็นแหล่งเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการ • เป็นเวทีแสดงความเห็นทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับ • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านอาหาร • สร้างความร่วมมือและเป็นพันธมิตรกับองค์กรทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ

  5. FoSTAT Activity 1. การสนับสนุนนักศึกษา • การแข่งขันตอบปัญหาวิชาการ “FoSTAT – Nestle Quiz Bowl” • โครงการประกวดแนวคิดนวัตกรรมผลิตภัณฑ์อาหาร “Food Innovation Contest” • นำเสนอผลงาน ทางด้าน Poster และ Oral ในงาน “Food Innovation Asia Conference “Food Ingredients Asia Conference”

  6. FoSTAT Activity 2. การส่งเสริมวิชาการในภาคเอกชน • การขึ้นทะเบียนนักวิทยาศาสตร์อาหาร “Certified Food Professional (CFoP)” • การสัมมนาความรู้ด้านวิชาการ “Food Safety Forum, Road Show Food Safety Forum และPublic Training” • การจัดระบบความปลอดภัยของอุตสาหกรรมอาหาร ตามมาตรฐาน “GMP, HACCP, ISO 22000, BRC และ IFS”

  7. FoSTAT Activity • ศึกษาวิจัยเชิงนโยบายให้หน่วยงานภาครัฐ • Research Capability “A Case of Frozen Sea Food Industry” • โครงการ ASEAN SECTORAL MUTUAL RECOGNITION ARRANGEMENT FOR PREPARED FOODSTUFF PRODUCT • โครงการ ASEANChecklist on Food Hygiene andFood Safety System 4.ร่วมเป็นคณะผู้แทน คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงานของหน่วยงานต่างๆ

  8. FoSTAT Activity 5. สมาชิกองค์กรในระดับสากล • Federation Institute of Food Science & Technology of the ASEAN (FIFSTA) • Allied Organisation, Institute Food Technologists (IFT) • Adhering Body, International Union of Food Science and Technology (IUFoST)

  9. Prof. StephaneGeralliJul 2, 2009 Director, The World Competitiveness Center International Institute for Management Development (IMD) “Thailand should take the opportunity to strengthen its competitiveness ..... to be one of the main global food and fuel suppliers.” “In the long run, the Kingdom should take serious action to develop human resources in * education and *technological skill”

  10. Thailand Agri- and Agro-Food Trade • Ranked # 7 in world food trade • Number one export to world market rice canned pineapple, processed shrimp processed tuna cooked chicken • Top export tapioca sugar canned sweet corn, baby corn

  11. World Crisis/Opportunity Crisis • Food security: uncertainty in quantity, quality, safety, price,.. • Energy Crisis: fossil fuel price, quantity • Climate change: drought, flood, temperature change, natural disaster, emerging diseases,…. • Population increase: 1999= 6.0 billion 2050= 9.3 billion aged group, malnutrition, poverty Opportunity • Food supplier to the world: innovation, productivity,….. • Bio-fuel: innovation in bio-energy crop, improve crop productivity,,…. • Green technology: innovation thru mitigation, adaptation and productivity,…. • Capacity building: S&T, HR, IT,……

  12. Resource Input/Implementation Resource Input • Skilled human resource: technology, knowledge,. • Agri-input: seed, water, fertilizer, insecticide, pesticide,….. • Post harvest technology: preservation, processing, packaging, ingredients, additives,…. • Quality and safety system: GAP, GMP, HACCP, traceability,.. Implementation • R&D: new plant variety, innovation in production and post harvest technology, productivity improvement,… • Irrigation: improvement, new resource,…. • Land management • Farm management • Machinery and tools • IT system/data base • Technology transfer

  13. Certified Food Professional การขึ้นทะเบียนนักวิทยาศาสตร์ด้านอาหาร สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร CFoP

  14. CFoP: การดำเนินงานที่ผ่านมา จัดทำ ระเบียบสมาคมฯ ว่าด้วยการขึ้นทะเบียน นักวิทยาศาสตร์ด้านอาหาร สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร โดยผู้แทนจากองค์กรร่วม ประชุมหารือและระดมความคิดเห็น จัดทำ จรรยาบรรณวิชาชีพ นักวิทยาศาสตร์ด้านอาหาร สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร

  15. CFoP: การดำเนินงานที่ผ่านมา • สอบขึ้นทะเบียนฯปีละ 2 ครั้ง รวม 8 ครั้ง 4 ปี • ทบทวนวิชาการ ปีละ 2 ครั้ง รวม 7 ครั้ง 4 ปี

  16. CFoP: การดำเนินงานในระยะต่อไป ผลักดันให้เกิดความยอมรับในระดับประเทศ เพื่อพัฒนาศักยภาพนักวิทยาศาสตร์ ด้านอาหาร ให้สอดคล้องกับ พ.ร.บ. ส่งเสริมวิชาชีพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

  17. วัตถุประสงค์ (1/2) • เพื่อให้กระบวนการผลิตอาหารได้รับการดูแลในเรื่อง • คุณภาพ มาตรฐาน และความปลอดภัยอย่างเหมาะสม • 2. ส่งเสริมให้ผู้ผลิตอาหารมีการดำเนินการอย่างถูกต้อง ตามกฎหมายที่เกี่ยวกับอาหาร

  18. วัตถุประสงค์ (2/2) • เพิ่มประสิทธิภาพการถ่ายทอดข้อมูล ระหว่างองค์กร • ด้านอาหารและผู้ผลิตอาหาร • 4. พัฒนาคุณภาพนักวิทยาศาสตร์ด้านอาหาร • เพื่อให้อุตสาหกรรมอาหารพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • 5. สนับสนุนกระบวนการและกฎหมายอาหารของภาครัฐ

  19. องค์กรร่วม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร ส.อ.ท. เลขานุการ / ประสานงาน สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหารแห่งประเทศไทย ทบทวน วิชาการ / ข้อสอบ สมาคมสภาวิชาการอุตสาหกรรมเกษตร กลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประชาสัมพันธ์ คณะกรรมการธุรกิจเกษตรและอาหาร สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย

  20. ผู้สมัครที่ผ่านเกณฑ์ ทบทวนวิชาการ ทดสอบวิชาการ CFoP ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนสมาชิก

  21. การทดสอบวิชาการ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง หมวดวิชาที่เกี่ยวข้อง เคมีอาหาร จุลชีววิทยาทางอาหาร กระบวนการแปรรูปอาหาร และวิศวกรรมอาหาร การประกันคุณภาพ สุขาภิบาลและกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร ผ่านเกณฑ์แต่ละหมวดวิชาไม่น้อยกว่า 50% และ คะแนนรวมทุกหมวดวิชาไม่น้อยกว่า 60%

  22. การขึ้นทะเบียน/คุณสมบัติผู้สมัครขึ้นทะเบียนการขึ้นทะเบียน/คุณสมบัติผู้สมัครขึ้นทะเบียน ประเภทสมาชิก CFoP 1. สมาชิกสามัญ วท.บ. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหาร หรือสาขาที่เรียกชื่ออื่น ซึ่งมีหลักสูตรตามเกณฑ์ขั้นต่ำ AIAC และ สกอ. 2. สมาชิกภาคี วท.บ. วิทยาศาสตร์สาขาอื่นๆ และมีประสบการณ์ทำงาน ในอุตสาหกรรมอาหาร การผลิต การประกันคุณภาพ ความปลอดภัยอาหาร พัฒนาผลิตภัณฑ์ ฯลฯ ไม่น้อยกว่า 3 ปี

  23. การขึ้นทะเบียน/คุณสมบัติผู้สมัครขึ้นทะเบียนการขึ้นทะเบียน/คุณสมบัติผู้สมัครขึ้นทะเบียน ประเภทสมาชิก CFoP สมาชิกภาคีพิเศษ ประสบการณ์ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร ไม่น้อยกว่า 15 ปี สร้างคุณประโยชน์ต่อวงการวิชาชีพ เห็นชอบจากคณะกรรมการพิเศษไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 คณะกรรมการ FoSTATเห็นชอบเป็นเอกฉันท์

  24. สิทธิของสมาชิกนักวิทยาศาสตร์ด้านอาหารสิทธิของสมาชิกนักวิทยาศาสตร์ด้านอาหาร ควบคุม / แนะนำเรื่องการผลิต และการควบคุมคุณภาพใน โรงงานอาหาร มีสิทธินำหนังสือรับรองไปใช้ในการสมัครงานหรือการ ประกอบวิชาชีพ ได้รับข่าวสารข้อมูลจากสมาคมฯ ตามที่จัดให้เป็นการเฉพาะ มีสิทธิเข้าร่วมฝึกอบรมสัมมนาและประชุม ตามที่สมาคมฯ และโครงการนี้จัดให้เป็นการเฉพาะ เป็นหน่วยประสานความก้าวหน้าทางวิชาการกับโรงงานอาหาร

  25. ตัวอย่าง Certificate

  26. ข้อบังคับสมาคมฯ ว่าด้วย จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ พ.ศ.2551 4 หมวด 16 ข้อ ½ )เพื่อให้นักวิทยาศาสตร์ด้านอาหารมีหลักปฏิบัติที่ดีซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบ และ ไม่ประพฤติตนให้เป็นที่เสื่อมเสียต่อวิชาชีพ เป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของประเทศให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ ต้องรักษามาตรฐานการประกอบวิชาชีพให้เต็มความสามารถ และคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค ต้องไม่สั่งใช้ สนับสนุนการใช้ ส่วนประกอบ สารเคมี วัสดุ ภาชนะบรรจุ ที่ห้ามใช้ ส่งเสริมการประกอบวิชาชีพเพื่อคุณประโยชน์ของมวลชน

  27. สรุป

  28. โอกาสประเทศไทยเป็นครัวของโลกโอกาสประเทศไทยเป็นครัวของโลก อุดมด้วยวัตถุดิบที่หลากหลาย มีเทคโนโลยีการผลิตและการแปรรูปที่ทันสมัย บุคลากรมีความรู้ความสามารถ มีศักยภาพในการผลิต และปรับตัวรับเทคโนโลยีได้ง่าย ภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์จากประเทศไทยเป็นที่ยอมรับ สร้างความร่วมมือด้านการค้ากับต่างประเทศ มาตรการอาหารปลอดภัยที่เข้มงวด ค้นคว้าวิจัย สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ สู่ตลาดและพิจารณาอาหาร สุขภาพ

  29. ลดของเสีย ดูแลสภาวะสิ่งแวดล้อม ได้ผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ๆ เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ สร้างนักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ นักเทคโนโลยี เพิ่มสมรรถนะทางการแข่งขันของประเทศ ประเทศไทย เป็นผู้ผลิตอาหารป้อนโลก (Thailand: Food Provider / Supplier to World Market) สรุป ประโยชน์เรื่อง Food Innovation

  30. ปัจจัยที่ต้องพิจารณา (1/3) 1. หน่วยงานภาครัฐ - กฎระเบียบด้านมาตรฐานและความปลอดภัย - มาตรการเอื้อการพัฒนาทางธุรกิจ - กระจายข้อมูลในวงกว้าง 2. หน่วยงานภาคการศึกษา - ก้าวให้ทันกับการพัฒนา S & T -ปรับปรุงหลักสูตรตามการพัฒนา - เตรียมนิสิต นักศึกษา ให้รู้จักวิชาการจากทั้ง ในห้องเรียน และภายนอก

  31. ปัจจัยที่ต้องพิจารณา (2/3) 3. อุตสาหกรรม - รอบรู้เรื่องกฎระเบียบ มาตรฐาน - ปฏิบัติตามกฎหมาย - ให้พนักงานทุกระดับได้รับการอบรมด้านวิชาการ กฎระเบียบของรัฐ ของอุตสาหกรรม - เร่งรัด หลักการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต - มีนักวิทยาศาสตร์ด้านอาหารเพื่อปรับปรุงการผลิต พัฒนา ผลิตภัณฑ์ ติดตามแนวทางผลิตภัณฑ์ของกระแสตลาด

  32. ปัจจัยที่ต้องพิจารณา (3/3) 4. ผู้บริโภค - ติดตามผลกระทบและอุบัติการณ์ของอาหารไม่ปลอดภัย - สร้างอุปนิสัย การบริโภคอาหารปลอดภัย - ดูแลสุขภาพ

  33. Awareness Safe food with quality (+nutrition) for health and well being is a must It is essential to create both health and wealth

  34. Food should definitely be the first medicine

  35. Thank You

More Related