230 likes | 393 Views
การรับฟังความคิดเห็น โครงการประเภทใด ที่มี ผลกระทบรุนแรง (ตามมาตรา 67 วรรค 2 ). ศ.ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ กรรมการ ใน คณะกรรมการสี่ฝ่าย ก.พ. – มี.ค. 2553. ม.67 วรรค 2 (รัฐธรรมนูญ ’ 50). ปัญหาตีความ. โครงการ อาจ รุนแรง. 2. * โครงการ/กิจกรรมที่ อาจ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ชุมชน
E N D
การรับฟังความคิดเห็นโครงการประเภทใดที่มีผลกระทบรุนแรง(ตามมาตรา 67 วรรค 2) ศ.ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ กรรมการ ใน คณะกรรมการสี่ฝ่าย ก.พ. – มี.ค. 2553
ม.67 วรรค 2 (รัฐธรรมนูญ ’50) ปัญหาตีความ โครงการอาจรุนแรง 2 * โครงการ/กิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ชุมชน * “รุนแรง” - สิ่งแวดล้อม (E) - ทรัพยากรธรรมชาติ (NR) และ - สุขภาพ (H) * กระทำมิได้เว้นแต่ 1 - EIA 2 - HIA ในชุมชน 3 - รับฟังความคิดเห็น ประชาชน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4 - องค์การอิสระให้ความเห็น
เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ และหลักวิทยาศาสตร์ ชี้ว่าต้องเป็น หรือ; ไม่ใช่ และ หากไม่เห็นด้วยอาจร้องขอตีความในเวทีที่อื่น ด้วยวิธีการอื่น (เช่น ฟ้องศาล) เน้นที่ชุมชนมีสิทธิเลือกชีวิตของเขา
4 • มาตรา 67 ไม่ใช่เรื่องสิ่งแวดล้อม • มาตรา 67 ไม่ใช้กับมาบตาพุดเท่านั้น ไม่ใช้กับโรงงานเท่านั้น ไม่ใช้กับพื้นที่ท้องถิ่นหนึ่งๆเท่านั้น • เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ เน้นที่ ชุมชน ไม่ใช่ เรื่องสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรฯ และสุขภาพ (จึงต้องเน้นให้เห็นผลกระทบถึงชุมชนอย่างรุนแรง) • ‘ความเห็น’ ไม่ใช่ ‘ความเห็นชอบ’
มาตรการ ประเภทโครงการรุนแรง ไม่เป็นคำตอบสุดท้าย • อีไอเอ ‘ปกติ’ เข้มข้นไม่น้อยกว่าอีไอเอ ‘ม.67’ • อีไอเอ ‘ปกติ’ ดูแลสิ่งแวดล้อมได้ดีอยู่แล้ว แต่ อีไอเอ ม. 67 มีขั้นตอนมากขึ้น • ปัญหาไม่ได้อยู่ที่อีไอเอ แต่อยู่ที่ การบังคับใช้กฎหมาย • ไม่จำเป็นต้องเน้นที่ ‘ประเภทรุนแรง’ แต่เพียงอย่างเดียว เพราะมันอาจไม่ใช่คำตอบ 5
ที่มาที่ไปของร่าง 19 ประเภท ‘รุนแรง’ สผ.จ้างมหาวิทยาลัยมหิดล (ได้ร่าง 12 ประเภท) สผ. ตั้งกรรมการจัดทำ ‘ร่างประเภทรุนแรง’ ขึ้นใหม่ มีการแลกเปลี่ยนเชิงวิชาการ มีการขอเพิ่มประเภท (อาจถึง 30 – 40) ใช้วิธี ‘ฉันทานุมัติ’ ซึ่งแปลว่า ไม่มีใครคัดค้านอย่างรุนแรง ผ่านการรับฟังความคิดเห็นฯ 4 ภูมิภาค + กทม. แต่ละภาคได้ข้อสรุปไม่เหมือนกัน สรุปสุดท้ายร่าง 19 ประเภทให้สผ. 6
มหาวิทยาลัยมหิดล ใช้หลักการ • รุนแรงต่อชีวิต (จำนวนผู้เสียชีวิต ผู้บาดเจ็บ ผู้พิการ) • รุนแรงต่อทรัพย์สิน (ปริมาณ และขนาดความเสียหาย) • รุนแรงต่อสิ่งแวดล้อม (ฟื้นได้ไหม ใช้เวลานานไหม) • รุนแรงต่อสาธารณะ (ชุมชนอยู่ได้อย่างเดิมหรือไม่ ปกติสุขแบบเดิมหรือไม่ วิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงมากหรือไม่) 7
มหาวิทยาลัยมหิดล และ สผ. 8 ผลกระทบอย่างรุนแรง • ขนาดของผลกระทบ • ระดับความรุนแรง • การกระจายตัว • โอกาสเสี่ยงในการเกิดผลกระทบ กล่าวคือ ในทุกด้าน, รอบคอบพอสมควรแล้ว
9 • ร่าง 19 ประเภท ‘รุนแรง’ • ความรุนแรงขึ้นกับประเภทโครงการ • ความรุนแรงขึ้นกับขนาดโครงการ • ความรุนแรงขึ้นกับพื้นที่อ่อนไหว • รายละเอียดจะพูดในกลุ่มย่อย
กรรมการ 4 ฝ่าย ดูแลระดับประเทศ ประเภทโครงการ ไม่ใช่ รายโครงการ ไม่ใช่ระดับพื้นที่หนึ่งๆ (โครงการอยู่ไหน ยังไม่รู้ ชุมชนใดก็ยังไม่รู้) แต่พื้นที่ท้องถิ่นหนึ่งๆอาจมีปัญหาผลกระทบรุนแรงได้ ซึ่งต้องอาศัยการผ่าน ‘กรรมการวินิจฉัย’
โครงการที่ต้องทำอีไอเอ เดิม 22 ประเภท • ปรับเป็น 34 ประเภท • 34 ประเภทอีไอเอ ไม่จำเป็นต้อง ‘รุนแรง’ • โครงการไม่อยู่ใน 34 ประเภท ‘อาจรุนแรง’ ได้ • ขนาดของโครงการ ‘รุนแรง’ ต้องมากกว่าโครงการ ‘อีไอเอปกติ’ หรืออย่างน้อยต้องเท่ากัน
‘สิ่งนำเข้า’ เทียบกับ ‘สิ่งปล่อยออกมา’ กระบวนการทำงาน B A สิ่งนำเข้า C สิ่งปล่อยออกมา C น้ำเสีย อากาศเสีย สารพิษ A วัตถุดิบ B โรงงาน ผลกระทบมาจาก C ไม่ใช่มาจาก A ถ้า B ดี C ก็น้อย, ทั้งๆที่ A อาจมาก แต่เราต้องตั้งสมมุติฐานว่า B ดีเท่ากันหมด วิธีที่จะกำหนดกติกาให้ง่ายและชัดเจน คือ ที่ A
ทำไมต้องปรับแก้ร่าง 19 ประเภท • เดิมมิติ ‘สุขภาพ’ ยังไม่ลึกซึ้ง จึงอาจต้องมีการเพิ่มประเภท • บางประเภท (เดิม) มีคนสงสัย • สนามกอล์ฟ • สิ่งก่อสร้างกันคลื่น • นิคมอุตสาหกรรม • โรงงานรีไซเคิลจากสารพิษ • จึงอาจลดประเภท/ เพิ่มขนาด
ทำไมต้องเร่งขนาดนี้ • ปัญหาสิ่งแวดล้อมฯในปัจจุบัน ไม่ใช่ว่าไม่ได้รับการดูแล • หากไม่ชัดเจน ประเทศเดินหน้าลำบาก • เป้าหมาย ต้น/กลาง เมษายน 2553 • ยังเพิ่ม/ลด ประเภท ‘รุนแรง’ ได้...... ปรับขาวเป็นเทา ปรับเทาเป็นดำ ปรับดำเป็นเทา
ขณะนี้ต้องการรู้ว่า ‘สีดำ’นั้น คืออะไร ซึ่งควรมุ่งให้เป็น ‘จำนวนขั้นต่ำ’ไปก่อน • โครงการสีดำ รุนแรง • โครงการสีขาว ไม่รุนแรง • โครงการสีเทา ยังไม่ได้ประกาศ อาจเพิ่มใน โครงการสีดำในวันหลัง หรือ ปรับไปเป็น ‘สีขาว’ก็ได้ • โครงการสีดำ อาจถูกปรับออกเป็นเทาหรือขาว • โครงการสีขาว อาจถูกปรับออกเป็นเทาหรือดำ
แนวคิดในการกำหนดประเภทรุนแรง (ใหม่) 1. เป็นระดับชาติ 2. ไม่เน้นพื้นที่ / ท้องถิ่น (ซึ่งต้องอาศัยกรรมการวินิจฉัย) 3. ให้นิยาม “โครงการรุนแรง” - โครงการขนาดใหญ่ - โอกาสเสี่ยงสูง - ผลกระทบ 3 มิติ (NR หรือ E หรือ H) - เสียหายจนฟื้นฟู เยียวยา ชดเชย ไม่ได้ - หากได้ ต้องใช้เวลานาน 4. ใช้วิธี MATRIX ให้คะแนนใน 3 มิติ (แบบ GPAX) มีเกณฑ์ย่อย (sub-criteria)ในแต่ละมิติ โอกาสเกิดและขนาดของความรุนแรง 5. รับฟังที่ 4 ภูมิภาค + กทม. และสรุปสุดท้ายอีกครั้ง
จำเป็นต้องแบ่งกลุ่มใหม่จำเป็นต้องแบ่งกลุ่มใหม่ • อุตสาหกรรม 1: -ปิโตรเคมี + กำจัดขยะพิษ • อุตสาหกรรม 2: -โรงไฟฟ้า + นิคมอุตสาหกรรม + สารกัมมันตรังสี + ท่าเทียบเรือ + ....ทะเลทะเลสาบ + สิ่งก่อสร้างกั้นคลื่น • โครงสร้างพื้นฐาน – พื้นที่อ่อนไหว + เกษตรดัดแปรพันธุกรรม + เขื่อน + อ่างเก็บน้ำ + ชลประทาน + สนามบิน + สนามกอล์ฟ • เหมืองแร่ + ถลุง/หลอมโลหะ
ขีดจำกัดขององค์การอิสระขีดจำกัดขององค์การอิสระ • อาจหาผู้เชี่ยวชาญ จำนวนมากไม่ได้ • มีขีดจำกัดด้านเวลาให้ความเห็น (60 วัน)
สำคัญ • ไม่ใช่ว่า เราพูดอะไร แล้วเป็นอย่างนั้น - แต่ละภาคอาจพูดต่างกัน - ต่างคนอาจพูดต่างกัน - อนุกรรมการฯ ต้องไปสรุป 2. ช่วงแรก หากเป็นได้ อยากให้เป็นวิชาการ ช่วงหลังเป็นอิสระ 3. ประเด็นหรือข้อเสนอที่เหมือนกัน ให้นำเสนอเพียงคนเดียว เพื่อให้มีเวลาสำหรับท่านอื่นๆ ที่มีประเด็นหรือข้อเสนอแตกต่างกันไป
4. ประชุมครั้งที่ 6 ที่กรุงเทพฯ (เป็นวิชาการ+อิสระเช่นกัน) เพื่อสรุปสุดท้าย 5. ความรู้จากแต่ละภูมิภาค (K1ถึง K4) - ยังไม่เฉลย - จะเฉลยก่อนครั้งที่ 5 - K1ถึง K5 จะไปใช้ในครั้งที่ 6 - ทุกคนมีความรู้เท่ากัน แล้วจึงสรุปในครั้งที่ 6 6. ระวังหากมีจำนวนประเภท “รุนแรง” มากเกินไป (จะติดกับ 60 วัน)
7. หากยังไม่ใช่ “รุนแรง” ชุมชนก็อาจร้องเรียน ขอให้วินิจฉัยว่ารุนแรงในพื้นที่ของตนได้ 8. ยังเสนอเพิ่ม-ลดประเภทรุนแรงได้ตลอด 9. โครงการ “รุนแรง” ไม่ใช่ทำไม่ได้ เพียงแต่มีขั้นตอนเพิ่มขึ้นมากกว่าโครงการ EIA ปกติ 10. ความเห็นประกอบ ไม่ใช่ ความเห็นชอบ 11. การรับฟังความคิดเห็น อนุกรรมการฯต้องรับฟัง และทุกภาคีก็ควรต้องรับฟังเช่นกัน 12. ยังไม่มีการสรุป จนกว่าวันสุดท้าย (ครั้งที่ 6)
ย้ำ!! • ข้อเสนอหรือความเห็น เพื่อขอปรับเพิ่ม-ลดประเภท ‘อาจรุนแรง’ไม่ได้รับฟังเฉพาะในการประชุมรับฟังความคิดเห็นแค่ 6 ครั้ง เท่านั้น!! • สามารถส่งข้อเสนอ หรือ ความเห็น เพื่อขอปรับเพิ่ม/ลด พร้อมเอกสารประกอบได้จนถึง 20 มีนาคม 2553มาที่ • Email :rubfung67@hotmail.com • ไปรษณีย์ ตู้ ป.ณ. 1111 • นำมาส่งด้วยตนเองที่ เรือนรับรองประชาชน ศูนย์บริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี(กรุณาวงเล็บมุมซอง “เอกสารประกอบการแสดงความคิดเห็นโครงการอาจรุนแรงฯ”)
ขอบคุณ และ ยินดีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น