1 / 73

ความหมายและประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล

การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างอุปกรณ์อย่างน้อย 2 ตัว โดยผ่านสื่อกลางชนิดใดชนิดหนึ่ง ซี่ง ข้อมูลนั้นอาจอยู่ในรูปของตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ หรือเสียง เป็นต้น การสื่อสารข้อมูลมีประโยชน์มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ องค์ประกอบ 3 อย่าง คือ

ofira
Download Presentation

ความหมายและประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างอุปกรณ์อย่างน้อย 2 ตัว โดยผ่านสื่อกลางชนิดใดชนิดหนึ่ง ซี่งข้อมูลนั้นอาจอยู่ในรูปของตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ หรือเสียง เป็นต้น การสื่อสารข้อมูลมีประโยชน์มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ องค์ประกอบ 3 อย่าง คือ ข้อมูลที่ส่งจะต้องถึงผู้รับหรือปลายทางได้อย่างถูกต้อง ข้อมูลที่ส่งไปนั้นเมื่อไปถึงผู้รับหรือปลายทางจะต้องมีความถูกต้องแน่นอนไม่มีข้อผิดพลาด ข้อมูลจะต้องถูกส่งถึงผู้รับหรือปลายทางได้ทันเวลาที่ผู้รับหรือปลายทางจะนำไปใช้ประโยชน์ได้ ความหมายและประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล

  2. องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลองค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล ข้อมูล/ข่าวสาร (Message) 01010101 ตัวกลาง (Medium) ผู้ส่ง หรือ อุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) ผู้รับ หรือ อุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver)

  3. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender)หน้าที่ เปลี่ยนข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถส่งข้อมูลได้ก่อน ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) หน้าที่ : รับข้อมูลเพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ โปรโตคอล (Protocol)คือ กฎ ระเบียบ หรือวิธีการที่ใช้เป็นข้อกำหนดสำหรับการสื่อสาร เพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจกันได้ ตัวกลาง (Medium) คือ เส้นทางสื่อสารเพื่อนำข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ ข่าวสาร (Message)คือ ข้อมูลที่ผู้ส่งทำการส่งไปยังผู้รับ ซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบของตัวอักษรตัวเลขรูปภาพและ เสียง องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลมีดังนี้

  4. สัญญาณในการสื่อสารข้อมูลมี 2 ชนิด คือ สัญญาณอนาล็อก (Analog Signal) เป็นสัญญาณที่มีลักษณะเป็นคลื่นต่อเนื่อง เป็นค่าที่ได้จาการวัดที่มีการเปลี่ยนแปลงค่าสัญญาณทีละน้อย ตัวอย่างเช่น เสียง ชนิดของสัญญาณในการสื่อสารข้อมูล

  5. 2. สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) เป็นสัญญาณที่มีค่าได้สองสถานะ คือ สถานะเปิดหรือปิด ซึ่งแทนค่าด้วย “0” หรือ ”1” ตัวอย่างเช่น ตัวอักษร รูปภาพ ชนิดของสัญญาณในการสื่อสารข้อมูล

  6. ตัวกลาง (media) เป็นช่องทางที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารเพื่อส่งผ่านข้อมูลระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยตัวกลางมีหลายประเภท การพิจารณาเลือกใช้ตัวกลางต้องคำนึงถึงปัจจัยดังต่อไปนี้ อัตราเร็วในการส่งข้อมูล ระยะทาง ค่าใช้จ่าย ความสะดวกในการติดตั้ง ความทนทานต่อสภาพแวดล้อม ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล (Transmission Media)

  7. ประเภทของสื่อกลาง สื่อกลางแบ่งเป็น 2 ประเภท สื่อกลางแบบมีสาย (wire media) • สายคู่บิดเกลียว (UTP) • สายโคแอกเชียล (Coaxial) • สายใยแก้วนำแสง (FIBER OPTIC) สื่อกลางแบบไม่มีสาย (wireless media) • คลื่นไมโครเวฟ (Microwave) • คลื่นวิทยุ (Radio wave) • แสงอินฟราเรด (Infrared) • บรูทูธBluetooth

  8. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ • สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) • ใช้ในการเชื่อมระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์และ EthernetSwitchหรือHub • Bandwidth 10/100/1000 Mbps • ความเร็วในการเชื่อมต่อขึ้นอยู่กับการเข้าหัวสาย และอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อ • ระยะทางในการเชื่อมต่อ < 100m

  9. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ • สาย UTP และหัว RJ-45 • สาย UTP ที่ใช้ใน Ethernet Lanจะเข้าหัวแบบ RJ-45 • ภายในสาย UTP จะมีสายทองแดงย่อยอีก 8 เส้น โดยถูกจัดกลุ่มเป็นคู่ๆ ทั้งหมด 4 คู่ RJ-45 UTP

  10. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ • การเข้าหัว RJ-45 มีได้ 2 แบบ คือ • แบบ A (Standard 568A) มีการเรียงสายจากซ้ายไปขวา ดังนี้ • ขาว/เขียว • เขียว • ขาว/ส้ม • น้ำเงิน • ขาว/น้ำเงิน • ส้ม • ขาว/น้ำตาล • น้ำตาล

  11. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ • แบบ B (Standard 568B) เป็นแบบที่นิยมใช้กันมาก มีการเรียงสายจากซ้ายไปขวา ดังนี้ • ขาว/ส้ม • ส้ม • ขาวเขียว • น้ำเงิน • ขาว/น้ำเงิน • เขียว • ขาว/น้ำตาล • น้ำตาล

  12. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ • สาย UTP มี 2 แบบ ตามการเข้าหัว RJ-45 ดังนี้ • สายตรง (UTP Straight Cable) เป็นสายที่ใช้ทั่วไป และพบมาก โดยใช้ในการเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ากับอุปกรณ์เครือข่ายจำพวก Hub และ Switch โดยการเข้าหัวทั้ง 2 ปลายจะเป็นแบบเดียวกัน (A หรือ B ก็ได้) • สายครอส(UTP Cross-over Cable) ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องโดยตรง ไม่ผ่านอุปกรณ์ประเภท Hub และ Switch นอกจากนี้ยังใช้เชื่อมระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และ Router (ซึ่งถือว่าเป็นคอมพิวเตอร์อีกรูปแบบหนึ่ง) โดยการเข้าหัวที่ปลายทั้ง 2 จะไม่เหมือนกัน กล่าวคือ ปลายข้างหนึ่งเข้าหัวแบบ A อีกปลายจะเข้าหัวแบบ B

  13. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์

  14. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์

  15. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ • สายตรง (UTP Straight Cable)

  16. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ • สายครอส(UTP Cross-over Cable)

  17. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ • วิธีการเข้าหัวสาย UTP • 1. ปลอกที่หุ้มสายออกประมาณ 2-3 ซม.

  18. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ • 2. เรียงสายทั้ง 4 คู่ให้ถูกต้องตามรูปแบบที่ต้องการ (A หรือ B) แล้วตัดให้สายทุกเส้นยาวเท่ากัน โดยให้ยาวออกจากที่หุ้มสายประมาณ 1.7 ซม.

  19. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ • 3. สอดสายที่จัดเรียงเรียบร้อยแล้ว เข้าไปยังหัว RJ-45 โดยใส่เข้าไปให้สุด และแน่นแล้วจึงใช้ที่เข้าหัวสายหนีบ เพื่อดันให้เข้าที่

  20. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ • สาย STP (Shielded Twisted Pair) • คล้ายกับสาย UTP แต่มีชนวน และตัวนำหุ้ม จึงป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดี นิยมใช้แทนสาย UTP ในที่ๆ มีสัญญาณรบกวนมาก เช่น โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ • มีราคาแพงกว่าสาย UTP

  21. 2. สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) ใช้สัญญาณไฟฟ้าและโลหะเป็นสื่อนำไฟฟ้า มีลักษณะคล้ายสายเคเบิ้ลทีวี แกนกลางเป็นทองแดงหุ้มฉนวน หุ้มด้วยตาข่ายโลหะ ชั้นนอกเป็นวัสดุป้องกันสายสัญญาณ ปัจจุบันไม่นิยมใช้

  22. 3. สายใยแก้วนำแสง หรือสายไฟเบอร์ (Fiber Optic) ใช้แสงเป็นสัญญาณ และใช้แก้วหรือพลาสติกเป็นสื่อนำสัญญาณ ไม่ถูกรบกวนโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทำให้ส่งข้อมูลได้ในอัตราเร็วสูง และระยะทางไกลกว่า 2 ชนิดแรก แต่การดูแลรักษายากกว่าและราคาแพงกว่า Bandwidth 10/100/1000 Mbps ระยะทางในการเชื่อมต่อ500m – 2Km แล้วแต่ชนิดของสาย

  23. สื่อกลางแบบไม่มีสาย (Wireless System)

  24. สื่อกลางที่กำหนดเส้นทางไม่ได้สื่อกลางที่กำหนดเส้นทางไม่ได้ คลื่นไมโครเวฟ (Microwave) • การส่งคลื่นเป็นแบบเส้นสายตา (line of sight) • สามารถส่งได้ไกล 20-30 ไมล์ถ้าต้องการส่งให้ไกลกว่าต้องมีสถานีถ่ายทอดสัญญาณไมโครเวฟ (Microwave Relay Station) • ใช้ความถี่ของคลื่นสัญญาณสูงระหว่าง 2 – 40 KHz • ความถี่ของคลื่นส่วนใหญ่ถูกใช้ในงานราชการเช่นทหาร

  25. คลื่นไมโครเวฟ (Microwave) ข้อดี • ไม่มีปัญหาเรื่องวางสายเคเบิล • นิยมใช้ในเครือข่ายไม่ไกลนัก • ราคาถูกกว่าเช่าสายใยแก้วของระบบโทรศัพท์ ข้อด้อย • การส่งสัญญาณถูกรบกวนได้ง่ายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสภาพภูมิอากาศ • ค่าติดตั้งเสาและจานส่งมีราคาแพง

  26. คลื่นวิทยุ (Radio wave) ประเภทของคลื่นวิทยุ • Long Wave • AM (Medium Wave) • Short Wave • FM, TV • ( Very High Frequency = VHF) • UHF (Ultra High Frequency)

  27. คลื่นวิทยุ (Radio wave) • เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในแถบความถี่ตั้งแต่ 30 MHz - 1 GHz • ต่างกับคลื่นไมโครเวฟตรงที่สามารถเดินทางได้รอบทิศทาง • ความถี่ของสัญญาณสูงดังนั้นจึงมี bandwidth กว้างสามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราส่งสูง 100-400 Kbps และสามารถใช้ช่องสัญญาณหนึ่งสำหรับหลายสถานี • ระยะทางการส่งได้ไกล 30 กิโลเมตรถ้ามีเครื่องทวนสัญญาณจะส่งได้ไกลถึง 500 กิโลเมตร

  28. คลื่นวิทยุ (Radio wave) • ข้อดีคือสามารถส่งข้อมูลได้แบบไร้สายและสร้างเครือข่ายได้กว้างไกลการติดตั้งไม่ยุ่งยากเนื่องจากใช้อุปกรณ์น้อย • ข้อเสียคือความปลอดภัยของข้อมูลมีน้อยจึงควรมีการเข้ารหัสข้อมูล และคลื่นวิทยุอาจถูกรบกวนได้ด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสภาพภูมิอากาศต่าง ๆ

  29. สื่อกลางที่กำหนดเส้นทางไม่ได้สื่อกลางที่กำหนดเส้นทางไม่ได้ • แสงอินฟราเรด (Infrared) • บรูทูธ Bluetooth

  30. ความเร็วในการส่งข้อมูลความเร็วในการส่งข้อมูล

  31. รูปแบบการส่งสัญญาณ การส่งสัญญาญข้อมูล (DataTransmission) แบ่งได้ 3รูปแบบ 1. ทิศทางเดียว (Simplex) 2. กึ่งทิศทางคู่ (HalfDuplex) 3. ทิศทางคู่ (FullDuplex)

  32. แบบทิศทางเดียว (Simplex) ส่งข้อมูลในทิศทางเดียว ผู้รับจะโต้ตอบไม่ได้ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ เป็นต้น ข้อมูล ผู้ส่ง ผู้รับ

  33. แบบกึ่งทิศทางคู่ (HalfDuplex) ส่งข้อมูลสวนทิศทางกันได้คนละเวลา ทำให้ โต้ตอบกันได้แบบผลัดกัน เช่น วิทยุมือถือ เป็นต้น ข้อมูล

  34. แบบทิศทางคู่ (FullDuplex) ส่งข้อมูลสวนทิศทางกันได้ในเวลาเดียวกันจึงสามารถโต้ตอบกันได้ทันที เช่น โทรศัพท์ เป็นต้นการส่งสัญญาณแบบทิศทางคู่มีข้อดี คือช่วยให้การส่งสัญญาณเป็นไปอย่างรวดเร็ว แต่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากกว่าสองแบบแรก เนื่องจากมีความซับซ้อนกว่า

  35. แบบทิศทางคู่ ข้อมูล ข้อมูล

  36. การส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์การส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ • การส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ จะรับ-ส่งในลักษณะสัญญาณ ดิจิตอล (Digital) ซึ่งมีเพียงสองสภาวะ คือ “0” และ • “1” เรียกสภาวะเหล่านี้ว่า Bit • 8 Bit มีค่าเท่ากับ 1 Byte ซึ่งใช้แทนตัวอักขระได้ 1 ตัว • ตามมาตรฐานรหัส ASCII • การส่งข้อมูลกระทำได้ 2 ลักษณะ คือแบบขนาน • (Parallel) และแบบอนุกรม (Serial)

  37. การส่งข้อมูลแบบขนาน • ข้อมูลจะถูกส่งออกไปครั้งละ 8 Bit หรือ 1 Byte จึงต้องใช้สายสัญญาณจำนวน 8 เส้นสำหรับส่งข้อมูล (1 เส้น ต่อ 1 Bit) โดยทั่วไปจะพบได้ในการส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ไปยังเครื่องพิมพ์ • ข้อดีคือ ส่งได้เร็ว • ข้อเสีย คือ ต้องมีจำนวนสายส่งเท่ากับจำนวนบิตที่จะส่ง ทำให้ต้องมีค่าใช้จ่ายที่สูง • ส่งได้ในระยะใกล้ (3-5 เมตร)

  38. การส่งข้อมูลแบบขนาน 0 1 1 0 0 1 0 1 = “A”

  39. การส่งข้อมูลแบบอนุกรมการส่งข้อมูลแบบอนุกรม • การส่งข้อมูลจะส่งข้อมูลครั้งละ 1 Bit เรียงกันไปจนครบ 1 Byte หรือ 1 ตัวอักษร ดังนั้นจึงต้องมีส่วนเริ่มต้น (Startbit) และส่วนปิดท้าย (Stopbit) เพื่อระบุ Bit แรก และ Bit สุดท้ายของข้อมูล • ข้อดี ใช้สายส่งเพียงเส้นเดียว จึงประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่ง • ข้อเสีย คือ ความเร็วจะน้อยกว่าการส่งแบบขนาน • นิยมใช้ส่งในระยะทางไกลๆ

  40. การส่งข้อมูลแบบอนุกรมการส่งข้อมูลแบบอนุกรม 1 2 3 4 5 6 7 8 Startbit Stopbit Data (8 Bit) Paritybit MODEM 01110100 01100101 Character 2 Character 1

  41. การส่งข้อมูลแบบอนุกรมการส่งข้อมูลแบบอนุกรม การส่งข้อมูลแบบอนุกรมจะส่งได้ 2 ลักษณะ คือ ส่งแบบ Asynchronous และส่งแบบ Synchronous แบบ Asynchronous จัดเป็นการส่งแบบไม่ต่อเนื่อง เช่น การพิมพ์ข้อมูลจากแป้นพิมพ์ไปยังคอมพิวเตอร์ แบบ Synchronous จัดเป็นการส่งข้อมูลแบบต่อเนื่อง ข้อมูลจะถูกส่งไปเป็นกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ

  42. การส่งข้อมูลแบบอนุกรมการส่งข้อมูลแบบอนุกรม การส่งแบบ Asynchronousต้องใช้ Startbit และ Stopbit เพื่อระบุข้อมูลตัวอักษรแต่ละตัวที่ส่งมา การส่งแบบ Synchronous ไม่ต้องใช้ Startbit และ Stopbit ระบุข้อมูลตัวอักษรแต่ละตัวที่ส่งมา การส่งแบบ Synchronous จะส่งได้รวดเร็ว และถูกต้องมากกว่าแบบ Asynchronous

  43. ความเร็วในการส่งข้อมูลความเร็วในการส่งข้อมูล ความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูล กำหนดเป็นจำนวน Bit ที่ส่งได้ในหนึ่งวินาที หรือ bitpersecond : bps ปกติแล้วการส่งสัญญาณข้อมูลในสายส่ง ต้องทำการ ผสมสัญญาณ (Modulation) โดยการให้คลื่นพาหะ นำข้อมูลไปตามสายส่ง ดังนั้นอัตราการส่งข้อมูลจึง วัดได้เป็นหน่วยวัดที่เรียกว่า “Baud”

  44. ความเร็วในการส่งข้อมูลความเร็วในการส่งข้อมูล ความเร็วในการส่งข้อมูล (bps) อาจมีอัตราเท่ากับ Baudทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวิธีการผสมสัญญาณ เช่น “ความเร็ว 1,200 Buad” ถ้าผสมสัญญาณ 1 Bit ต่อ 1 ลูกคลื่น ความเร็วจะเท่ากับ 1,200 bps แต่ถ้าผสมสัญญาณ 2 Bit ต่อ 1 ลูกคลื่น ความเร็วจะเท่ากับ 2,400 bps เป็นต้น

  45. ความเร็วในการส่งข้อมูลความเร็วในการส่งข้อมูล 1 Bit 1,200 bps 1,200 Buad 2 Bit 2,400 bps 1,200 Buad

  46. Channel หมายถึง ช่องทางในการสื่อสารที่รวบรวมข้อมูลเพื่อเดินทางจากต้นทางไปยังปลายทางที่กำหนด แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ -แบบ Analog -แบบ Digital

  47. Channel ระดับของสัญญาณ เปลี่ยนแปลงอย่าง ต่อเนื่อง สัญญาณ Analog 1 ระดับของสัญญาณ เปลี่ยนแปลงเพียง สองระดับ สัญญาณ Digital 0

  48. Channel Channel ที่ใช้กับสัญญาณ Analog จะเรียกว่า Broadbandสามารถส่งสัญญาณได้หลายความถี่ใน เวลาเดียวกัน Channelที่ใช้กับสัญญาณ Digital จะเรียกว่า Basebandส่งสัญญาณได้เร็วกว่าแบบ Analogและ ไม่มีปัญหาเรื่องสัญญาณรบกวน

  49. เครือข่ายคอมพิวเตอร์

  50. ความหมายของระบบเครือข่ายความหมายของระบบเครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์(Computer Network) คือระบบที่ มีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตั้งแต่2เครื่องขึ้นไป เพื่อใช้ในการโอนถ่ายข้อมูลและสามารถสื่อสารระหว่างกัน ผ่านช่องทางการสื่อ สารอย่างใดอย่างหนึ่งและระบบเครือข่ายใดๆสามารถมีระบบเครือ ข่ายย่อยมากกว่า 1 เครือข่ายอยู่ภายใน

More Related