1 / 24

Code of Practice no.5 Food Incidents and Food Alerts

Code of Practice no.5 Food Incidents and Food Alerts. Food Safety Authority of Ireland (FSAI). 1. บทนำ.

odin
Download Presentation

Code of Practice no.5 Food Incidents and Food Alerts

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Code of Practice no.5Food Incidents and Food Alerts Food Safety Authority of Ireland (FSAI)

  2. 1. บทนำ กำหนดการจัดระบบความรับผิดชอบและการจัดการอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้นในระดับท้องถิ่นและประเทศจากผู้ที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานภาครัฐ, ผู้ประกอบธุรกิจด้านอาหาร และประเทศสมาชิกในกลุ่มสหภาพยุโรป โดยผ่านระบบเตรียมพร้อมเร่งด่วนของประเทศ ( The Rapid Alert System for Food and Feed, RASFF) เป้าหมาย • จำแนกประเภทของอุบัติการณ์ด้านอาหารเพื่อการบริหารจัดการ • อธิบายวิธีการบริหารจัดการใบแจ้งเตือนของ RASFF • กำหนดวิธีการสื่อสารอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างผู้ประกอบธุรกิจอาหาร, หน่วยงานภาครัฐ, FSAI • กำหนดรายละเอียดและวิธีดำเนินการเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับอันตรายที่เกิดในอาหารระดับชาติ • กำหนดรายละเอียดระบบการสอบสวนข้อร้องเรียนที่เกิดจากอาหารนำเข้ามาจากประเทศสมาชิกอื่นๆ 2. วัตถุประสงค์

  3. 3. ขอบข่าย • ใช้กับอุบัติการณ์ด้านอาหารและการแจ้งเตือนภัยเพื่อเตรียมพร้อมที่เกี่ยวข้องกับอาหารเท่านั้น • ใช้เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลความปลอดภัยด้านอาหารที่เกิดขึ้นระหว่างประเทศไอร์แลนด์กับประเทศสมาชิกอื่นๆ ที่อยู่ภายใต้การจัดการระบบการติดต่อประสานงานหน่วยเดียว (Single Liaison) • ใช้กับหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง, ผู้ประกอบธุรกิจด้านอาหารและ FSAI • ใช้ร่วมกับเอกสารฉบับอื่นที่เกี่ยวข้อง

  4. 4. คำจำกัดความ • อันตราย (Hazard):สารหรือวัตถุทางชีวภาพ เคมีหรือกายภาพที่มีอยู่ในอาหารหรือสภาพของอาหารที่มีโอกาสจะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ • ความเสี่ยง (Risk): ความสัมพันธ์ของโอกาสที่จะเกิดผลร้ายต่อสุขภาพ และผลลัพธ์จากความรุนแรงของอันตรายในอาหารนั้น • อุบัติการณ์ (Incident): เหตุการณ์แวดล้อมกับการบ่งชี้อันตรายซึ่งมีความเสี่ยงต่อสุขภาพ รวมถึง • อุบัติการณ์ที่มีโอกาสเกิดอันตรายที่รุนแรงต่อประชาชนจากการบริโภค • การระบุชี้ถึงอาหารที่มีการปนเปื้อนซึ่งก่อให้เกิดความเจ็บป่วยได้ • การระบุชี้ถึงโรคภัยร้ายแรงต่อมนุษย์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับอาหารที่ปนเปื้อน • การระบุชี้ถึงการปฏิบัติที่ไม่ถูกสุขลักษณะในธุรกิจอาหารในระดับที่จะ • ก่อให้เกิดอันตรายทันทีต่อสุขภาพผู้บริโภค • การระบุชี้ถึงการปฏิบัติที่ผิดปกติหรือผิดกฎหมายในธุรกิจอาหารหรือ • เครือข่ายการกระจายอาหารซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพผู้บริโภค • การปนเปื้อนทางเคมีหรือชีวภาพโดยความตั้งใจหรือเจตนาก่อการร้าย

  5. คำจำกัดความ (ต่อ) • Rapid Alert System for Food and Feed (RASFF):ระบบการแจ้งเตือนโดยอิเลคโทรนิกส์แก่กรรมาธิการยุโรปเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลของอันตรายที่พบในอาหารระหว่างประเทศสมาชิก เพื่อเตรียมความพร้อม (Alert notification) สิ่งที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพผู้บริโภคทั้งทางตรงและทางอ้อม การแจ้งเตือน (Notification) ข้อมูลที่ไม่เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพแต่ไม่เป็นไปตามกฎหมายหรือการพัฒนาด้านความปลอดภัยอาหาร เพื่อเป็นข้อมูล (Information notification) เพื่อเป็นข่าวสาร (News notification) เป็นข้อมูลด้านการวิจัยค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยอาหาร

  6. คำจำกัดความ (ต่อ) • การวิเคราะห์ความเสี่ยง(Risk Analysis):กระบวนการเชื่อมโยงขององค์ประกอบ 3 ส่วนดังนี้ • Risk Management • Revise/establish food • standard • Evaluation • Legal action • Risk Assessment • Hazard Identification • Hazard Characterization • Exposure assessment • Risk Characterization Risk Communication

  7. คำจำกัดความ (ต่อ) • หน่วยงานภาครัฐ (Official Agency): หน่วยงานภาครัฐที่ทำงานเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยด้านอาหารรวมถึงหน่วยงานที่ปฏิบัติงานภายใต้สัญญาการทำงานในนาม FSAI • หน่วยงานสืบสวน (Investigation Agency): หน่วยงานภาครัฐของ FSAI ที่มีหน้าที่บ่งชี้อันตรายหรือเป็นผู้นำในการดำเนินการสืบสวนอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้น • ธุรกิจอาหาร (Food Business): การดำเนินการใดๆ ในภาครัฐหรือเอกชนที่มีกิจกรรมเกี่ยวข้องกับขั้นตอนใดๆ ของการผลิต แปรรูป หรือการกระจายอาหาร โดยมุ่งหวังกำไรหรือไม่ก็ตาม • ผู้ประกอบกอบธุรกิจอาหาร (Food Business Operator): บุคคลธรรมดาหรือบุคคลตามกฎหมายที่รับผิดชอบงานเพื่อให้มั่นใจว่าธุรกิจอาหารในความดูแลเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดด้านการประกันคุณภาพอาหารของบริษัทผู้ผลิตภายใต้มาตรฐานที่ควบคุม

  8. กฎระเบียบ (Legislation) Food Safety Authority of Ireland Act, 1998 Food hygiene Regulation, 1950-89 Regulation (EC) no. 178/2002 Council Directive 89/397/EEC of 14 June 1989 on the official control of foodstuffs Regulation (EC) no.882/2004 etc. เอกสารแนะนำ (Guidance Documents) FSAI Guidance Note 10 Product Recall and Traceability Food Agency Co-operation Council Food Incident Management Plan Codex Alimentarius CAC/GL 19 Exchange of Information in Food Control Emergency Situations etc. 5. เอกสารที่เกี่ยวข้อง (http://www.fsai.ie/publications/index.asp)

  9. ส่วนประกอบใน COP no.5 ส่วนที่ 1: การจัดการอุบัติการณ์ และการแจ้งเตือนเร่งด่วนภายในประเทศ ส่วนที่ 2: การจัดการด้านการประสานงานกับแต่ละประเทศ

  10. ส่วนที่1: การจัดการอุบัติการณ์และการแจ้งเตือนเร่งด่วนภายในประเทศ 6. ความรับผิดชอบต่อการจัดการของอุบัติการณ์ 6.1 บทบาทหน้าที่ • จุดติดต่อแรกในการแก้ปัญหาอุบัติการณ์ • เป็นผู้นำในการสอบสวนและบ่งชี้อันตราย • ประเมินความเสี่ยงและดำเนินการแก้ไขขั้นต้น • สื่อสารกับหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง • ทบทวนกิจกรรมต่างๆ บนพื้นฐานของข้อมูล หน่วยงานภาครัฐ

  11. ความรับผิดชอบต่อการจัดการของอุบัติการณ์ (ต่อ) • ให้การสนับสนุนด้านการใช้กฎหมาย • เป็นหน่วยงานกลางในการรวบรวมและให้ข้อมูล • เป็นแหล่งข้อมูลและศูนย์ติดต่อกับผู้เชี่ยวชาญ • แจ้งและปรับปรุงข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐให้ทันสมัย • ออกประกาศเตรียมความพร้อมและรับประกาศจาก RASFF FSAI • ดำเนินการตามมาตรการที่จำเป็นต่อการปกป้องสุขภาพ • ทบสอบและรักษาระบบการเรียกคืนและการสอบกลับที่ • มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • จัดทำเอกสารกระบวนการทั้งหมดที่จำเป็น • ให้ความร่วมมือกับหน่วยงานในการแจ้งข้อมูล • ปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย ผู้ประกอบธุรกิจอาหาร

  12. ความรับผิดชอบต่อการจัดการของอุบัติการณ์ (ต่อ) 6.2 การวางแผนและการประสานงาน • ลักษณะของอันตราย (Hazard Characterization) • วิธีการกระจายอาหาร (Food Distribution) การตัดสินปัญหา

  13. ความรับผิดชอบต่อการจัดการของอุบัติการณ์ (ต่อ) • หน่วยงานภาครัฐ: รับเรื่องและประสานหน่วยงานอื่นๆ • หน่วยงานสืบสวน: สืบสวนและประสานระดับท้องถิ่น • FSAI: รับทราบเรื่อง และช่วยสอบสวนในกรณีจำเป็น การดำเนินการ

  14. 7. การแจ้งเตือน (Notifications) FSAI แจ้งประสานหน่วยงานอื่นๆ เพื่อทราบและดำเนินการ

  15. 8. การปนเปื้อนในอาหารโดยเจตนาหรือมุ่งปองร้าย กำหนดบทลงโทษทางอาญาไว้ใน The Garda Siochana National Bureau of Criminal Investigation (NBCI) NBCI สืบสวนหาสาเหตุ และลงโทษตามกฎหมาย FSAI

  16. 9. การติดต่อสื่อสาร 9.1 ระบบ RASFF • ระบบการแจ้งเตือนเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับอาหารและอาหารสัตว์ของสหภาพยุโรป • ผู้จัดการระบบคือ คณะกรรมาธิการยุโรป • แจ้งเตือนประสานหน่วยงานประสานหน่วยเดียว (Single Liaison body) ของ แต่ละประเทศสมาชิกเช่น FSAI เป็นหน่วยประสานของประเทศไอร์แลนด์ • แจ้งข้อมูลที่มีเพื่อใช้ในการประเมินอุบัติการณ์นั้น โดยประสานข้อมูลกับผู้ประกอบธุรกิจอาหารเพื่อเพิ่มความชัดเจน • การแจ้งเตือนการปฏิเสธอาหาร (Rejection) ณ ด่านตรวจสอบ

  17. การติดต่อสื่อสาร(ต่อ) 9.2 Rapid Alert การแจ้งเตือนเพื่อเตรียมความพร้อมเร่งด่วน FSAI • ข้อมูลอันตรายจากการบริโภคอาหาร • ประกาศแจ้งเตือนจาก RASFF • ข้อมูลจากผู้ประกอบธุรกิจภายในประเทศ • ข้อมูลจากห้องปฏิบัติการ • ข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ แจ้งเตือนเพื่อเตรียมความพร้อมด้านอาหารระดับชาติ (A national Food Alert) • โทรสาร, โทรศัพท์ • อีเมล์ • SMS • เวปไซด์ของ FSAI เพื่อการดำเนินการ เพื่อเป็นข้อมูล หน่วยงานด้านสาธารณสุข หน่วยงานอื่นๆ หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ตัวแทนธุรกิจอาหาร

  18. การติดต่อสื่อสาร(ต่อ) 9.3 Media Management การจัดการด้านสื่อ การดำเนินการโดยหน่วยงานภาครัฐ สำเนาถึง FSAI สำเนาถึง FSAI การดำเนินการโดยผู้ประกอบธุรกิจอาหาร การเรียกคืนสินค้าจากแหล่งจำหน่าย/ระหว่างการกระจายสินค้า สำเนาถึง FSAI

  19. 10. การปิดอุบัติการณ์ที่เกิด • การสืบสวนอุบัติการณ์ครบสมบูรณ์ • มีการดำเนินการเพื่อสร้างความมั่นใจ • ในการเรียกคืนสินค้าที่พบปัญหา ปิดอุบัติการณ์ (Incident Closure) แจ้งทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  20. 11. การจัดการด้านการประสานงานจุดเดียวและกับประเทศที่สาม ส่วนที่ 2: การจัดการด้านการประสานงานกับแต่ละประเทศ • กฎระเบียบของกรรมาธิการยุโรป ปี 1998 ข้อ 23 – 25 กำหนดให้แต่ละประเทศสมาชิกแต่งตั้งหน่วยงานที่ทำหน้าที่ประสานงานหน่วยเดียว (A Single Liaison body) เพื่อเป็นหน่วยติดต่อและประสานงานด้านการสื่อสาร โดยเฉพาะการส่ง – รับการร้องขอระหว่างประเทศนั้นๆ กับประเทศสมาชิก • เช่น หน่วยงาน Food Safety Authority of Ireland (FSAI) เป็นหน่วยงานประสานของประเทศ ไอร์แลนด์ • การติดต่อระหว่างหน่วยงานภาครัฐของประเทศนั้นกับประเทศอื่นๆ ควรแจ้งหน่วยงานประสานหน่วยเดียว ให้ทราบด้วย

  21. ประเทศสมาชิกอื่น ประเทศไอร์แลนด์ ผลิตภัณฑ์อาหาร ข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ผลการวิเคราะห์ที่ไม่ปลอดภัย ประสานงาน และดำเนินการ ติดต่อสื่อสาร หน่วยงานประสาน ของประเทศนั้น FSAI การจัดการด้านการประสานงานจุดเดียวและกับประเทศที่สาม(ต่อ) 11.1 สาระที่อ้างถึงประเทศสมาชิกอื่น

  22. ประเทศไอร์แลนด์ ผลิตภัณฑ์อาหาร ประเทศสมาชิกอื่น ข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ผลการวิเคราะห์ที่ไม่ปลอดภัย ประสานงาน และดำเนินการ ติดต่อสื่อสาร FSAI หน่วยงานประสาน ของประเทศนั้น การจัดการด้านการประสานงานจุดเดียวและกับประเทศที่สาม(ต่อ) 11.2 การแจ้งเรื่องจากสมาชิกอื่น

  23. การจัดการด้านการประสานงานจุดเดียวและกับประเทศที่สาม(ต่อ)การจัดการด้านการประสานงานจุดเดียวและกับประเทศที่สาม(ต่อ) 11.3 การสืบสวนของประเทศที่สาม • ติดต่อและดำเนินการโดยตรงกับหน่วยงานของประเทศที่สาม • FSAI ให้ความช่วยเหลือเพื่อสืบสวน ตัวอย่างแบบฟอร์มรายงานอุบัติการณ์ของ FSAI ตัวอย่างการแจ้งประกาศเพื่อเตรียมความพร้อม

  24. THANK YOU FOR YOUR ATTENTION

More Related