1 / 34

การเพิ่มขีดความสามารถทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของประเทศไทยในอนาคต

การเพิ่มขีดความสามารถทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของประเทศไทยในอนาคต. ศ.ดร. ชัยวัฒน์ ต่อสกุลแก้ว รองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 19 กันยายน 2551. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ.

Download Presentation

การเพิ่มขีดความสามารถทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของประเทศไทยในอนาคต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเพิ่มขีดความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเพิ่มขีดความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของประเทศไทยในอนาคต ศ.ดร. ชัยวัฒน์ ต่อสกุลแก้ว รองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 19 กันยายน 2551 สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

  2. ประเด็นการนำเสนอ 1) สถานการณ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย 2) นโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับ การเพิ่มขีดความ สามารถในการแข่งขันของประเทศ 3 ) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับ การพัฒนาประทศไปสู่ เศรษฐกิจฐานความรู้ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

  3. สถานการณ์ ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ของไทย สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

  4. อันดับความสามารถในการแข่งขันโดยรวมปี 2551(10 อันดับแรก) ไทย (Thailand)(33) 27 หมายเหตุ:ตัวเลขในวงเล็บเป็นอันดับของปี 2550 ที่มา : International Institute for Management Development (2004-2008). World Competitiveness Yearbook 2004-2008 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2551

  5. Success Stories อันดับ 1 ด้านการลงทุน R&D อันดับ 1 ด้านจำนวนบทความวิทยาศาสตร์ อันดับ 1 ด้านรางวัลโนเบล อันดับ 2 ด้านจำนวนสิทธิบัตรในต่างประเทศ สหรัฐฯ: อันดับ 1ด้านการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ อันดับ 2 ด้าน Basic Research อันดับ 5 ด้านสัดส่วนบุคลากร R&D ต่อจำนวนประชากร สิงคโปร์: หมายเหตุ: จากการจัดอันดับของ IMD ปี 2551 สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

  6. อันดับความสามารถในการแข่งขันโดยรวมของประเทศต่างๆ ปี 2547 - 2551 สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย ที่มา : International Institute for Management Development (2004-2008). World Competitiveness Yearbook 2004-2008 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2551

  7. สมรรถนะทางเศรษฐกิจ ประสิทธิภาพของรัฐบาล * อันดับรวม ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ โครงสร้างพื้นฐาน อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยจำแนกตามปัจจัยหลัก ปี 2547 - 2551 โดยรวม ที่มา : International Institute for Management Development (2004-2008). World Competitiveness Yearbook 2004-2008 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2551

  8. อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ปี 2551(#27) จำแนกตามปัจจัยย่อย 12 22 25 39 37 ที่มา : International Institute for Management Development (2004-2008). World Competitiveness Yearbook 2004-2008 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2551

  9. อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของประเทศต่างๆ ปี 2547-2551 มาเลเซีย ไทย 2549 53 ประเทศ 2550 55 ประเทศ 2551 55 ประเทศ 2547 51 ประเทศ 2548 51 ประเทศ ที่มา : International Institute for Management Development (2004-2008). World Competitiveness Yearbook 2004-2008 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2551

  10. ทำไมอันดับความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ของไทยจึงดีขึ้นทำไมอันดับความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ของไทยจึงดีขึ้น เกณฑ์ ปี 2550 (#49) ปี 2551 (#37) 1. ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของทั้งประเทศ 43 44 2. ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของทั้งประเทศ 52 51 ต่อ GDP 3. ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของทั้งประเทศ 51 50 ต่อประชากร 4. ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของธุรกิจเอกชน 43 43 5. ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของธุรกิจ 50 49 เอกชนต่อ GDP 6. จำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาของ 27 27 ทั้งประเทศ (FTE) 7. จำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาของ 45 45 ทั้งประเทศต่อประชากร 1,000 คน สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

  11. เกณฑ์ ปี 2550 (#49) ปี 2551 (37) 8. จำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา 34 37 ในภาคเอกชน 9. จำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาในภาค 47 47 เอกชนต่อประชากร 1,000 คน 10. จำนวนสิทธิบัตรที่ให้กับคนในประเทศ 38 38 11. จำนวนสิทธิบัตรที่ได้รับการคุ้มครอง 48 44 ในต่างประเทศ 12. การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา 50 42 13. จำนวนสิทธิบัตรต่อประชากร 100,000 คน - - 14. ประสิทธิภาพการผลิตสิทธิบัตร 39 36 15. รางวัลโนเบล 25 26 16. รางวัลโนเบลต่อประชากร 25 26 สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

  12. เกณฑ์ ปี 2550 ปี 2551 17. ความสนใจของเยาวชนที่มีต่อวิทยาศาสตร์ 35 29 18. การสอนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน 35 27 19. สัดส่วนบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 43 1 และวิศวกรรม 20. การวิจัยพื้นฐาน 38 38 21. จำนวนบทความด้านวิทยาศาสตร์ 40 39 และเทคโนโลยี 22. สภาพแวดล้อมทางกฎหมายเอื้อต่อการทำ 45 37 วิจัยทางวิทยาศาสตร์ 49 37 สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

  13. นโยบาย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับ การเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

  14. ทำไมจึงต้องมีการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทำไมจึงต้องมีการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคม: คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ: ขีดความสามารถในการแข่งขัน องค์ความรู้: ทันโลก คิดและทำอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

  15. ทำไมรัฐบาลจึงต้องมีบทบาทในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทำไมรัฐบาลจึงต้องมีบทบาทในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2550) พระราชบัญญัติว่าด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวตกรรมแห่งชาติ (2551) สังคม: คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ:ขีดความสามารถในการแข่งขัน องค์ความรู้: ทันโลก คิดและทำอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

  16. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หมวด 1. บททั่วไป 2. พระมหากษัตริย์ 3. สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย 4. หน้าที่ของชนชาวไทย 5. แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ 6. รัฐสภา 7. การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของ ประชาชน 8. การเงิน การคลัง และงบประมาณ 9. คณะรัฐมนตรี 10. ศาล 11. องค์กรตามรัฐธรรมนูญ 12. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ 13. จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่ง ทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ 14. การปกครองส่วนท้องถิ่น 15. การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ บทเฉพาะกาล ส่วนที่ 9: แนวนโยบายด้านวิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญา และ พลังงาน มาตรา 86: รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้าน วิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญา และพลังงาน สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

  17. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • มาตรา 86รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านวิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญาและพลังงาน • ดังต่อไปนี้ • ส่งเสริมให้มีการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านต่าง ๆ • - โดยจัดให้มีกฎหมายเฉพาะเพื่อการนี้ • - จัดงบประมาณสนับสนุนการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และ ให้มีสถาบันการศึกษาและพัฒนา • - จัดให้มีการใช้ประโยชน์จากผลการศึกษาและพัฒนา • - การถ่ายทอดเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ • - การพัฒนาบุคลากรที่เหมาะสม รวมทั้งเผยแพร่ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ • - สนับสนุนให้ประชาชนใช้หลักด้านวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต • (2) ส่งเสริมการประดิษฐ์หรือการค้นคิดเพื่อให้เกิดความรู้ใหม่ รักษาและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทย รวมทั้งให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา • (3) ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และใช้ประโยชน์จากพลังงานทดแทนซึ่งได้จากธรรมชาติและเป็นคุณต่อสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

  18. นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ วท. 2551-2554 1.นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่ม ดำเนินการในปีแรก 1. การส่งเสริมและเร่งรัดการพัฒนากำลังคนด้าน ว. และ ท. ให้เป็นพลังของประเทศ 2.นโยบายสังคมและ คุณภาพชีวิต 2. การสร้างความตระหนัก และพัฒนาการเรียนด้าน ว. และ ท.ให้เป็นสังคมฐานความรู้ 3.นโยบายเศรษฐกิจ 3. การวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม สร้างฐานความรู้และเพิ่มผลิตภาพของประเทศ 4.นโยบายที่ดิน ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. การถ่ายทอดเทคโนโลยี และมีการนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ในการเพิ่มผลผลิตเชิงพาณิชย์ทุกระดับ 5.นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม 5. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และระบบสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมให้เพียงพอ รวมทั้งการพัฒนาการบริหารจัดการด้าน ว. และ ท. ให้มีประสิทธิภาพและทันสมัย 6.นโยบายการต่างประเทศและ เศรษฐกิจต่างประเทศ 7.นโยบายความมั่นคงของรัฐ 8.นโยบายการบริหารที่ดี 6. การพัฒนานโยบาย วทน. มีประสิทธิภาพและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

  19. “พ.ร.บ. ว่าด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2551” สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

  20. เศรษฐกิจของประเทศเติบโตอย่างยั่งยืนและแข่งขันได้ เศรษฐกิจของประเทศเติบโตอย่างยั่งยืนและแข่งขันได้ คนไทยคิดและทำบนพื้นฐานของตรรกะและเหตุผล มีความรู้ ความสามารถ ลดการพึ่งพาผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีจากต่างประเทศ ทำให้ประเทศมีความพอประมาณ มีเหตุมีผล และ ระบบภูมิคุ้มกันที่ดี ความสามารถทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม หัวรถจักรในการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืน กลไกขับเคลื่อนที่มีสมรรถนะสูง พระราชบัญญัติ วทน. พ.ศ. 2551 กฎหมายพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่มา : ดร. กอปร กฤตยากีรณ 1 พฤศจิกายน 2550 (ปรับปรุง)

  21. ความสามารถทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวตกรรม กลไกขับเคลื่อนที่มีสมรรถนะสูง • คณะกรรมการนโยบายระดับสูงด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มี นรม. เป็นประธานเพื่อให้เกิดแรงผลักดันการตัดสินใจเชิงนโยบายระดับประเทศ • นโยบายและแผนด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศ โดยสร้างแรงจูงใจให้ภาคอุตสาหกรรมและประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศ อันจะนำไปสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน • สำนักงานสนับสนุนที่มีประสิทธิภาพ ทำหน้าที่ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแปลงนโยบายและแผนทางการดำเนินงานของคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมไปสู่การปฏิบัติ กฎหมายพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม • เป็นกรอบการกำหนดนโยบายและแผนแห่งชาติและกรอบงบประมาณด้าน วทน. ของประเทศ • เป็นกรอบให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ร่วมมือกับภาคเอกชน ในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ให้มีความสอดประสานกันทั้งประเทศ • ทั้งในด้านการผลิตและพัฒนากำลังคน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การสร้างความตระหนัก และ การบริหารจัดการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรมและการวิจัยอย่างเป็นระบบ ที่มา: ดร.กอปร กฤตยากีรณ 1 พ.ย. 2550 (ปรับปรุง)

  22. คณะรัฐมนตรี คณะกรรมการนโยบาย วทน. แห่งชาติ สำนักงาน คณะกรรมการฯ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วย วทน. สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง: จัดทำแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณด้าน วทน. สกว. วช. ก. ศึกษาธิการ: สกอ./สพฐ หน่วยงานอื่นๆ: สงป./สศช ก. วิทยาศาสตร์ฯ ก. อุตสาหกรรม ก. เกษตรฯ ก. กลาโหม สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

  23. แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ พ.ศ. 2547 - 2556 วิสัยทัศน์:ประเทศไทยมีเศรษฐกิจที่เข้มแข็ง เป็นสังคมความรู้ที่แข่งขันกันได้ในอนาคต มีความมั่งคง และประชาชนมีชีวิตที่ดี การแข่งขันที่ยั่งยืน สังคมเรียนรู้ คุณภาพชีวิต/สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจชุมชน National Innovation System (Clusters) Core Technologies Human Resources 1) ICT 2) Biotechnology 3) Material Technology 4) Nanotechnology KBS Enabling Environment Core Technologies • ตัวอย่างเป้าหมาย: • สัดส่วนสถานประกอบการที่มีนวัตกรรมเพิ่มขึ้นเป็น35% • เพิ่มความสามารถในการจัดการตนเองเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจให้แก่ท้องถิ่น • อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสูงกว่าจุดกึ่งกลางของ IMD สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

  24. การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทยการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทย ไปสู่ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ (KBE: Knowledge Base Economy)

  25. พัฒนาการระบบเศรษฐกิจของไทยพัฒนาการระบบเศรษฐกิจของไทย ปี 2520-ปัจจุบัน อนาคต ก่อนปี 2520 เศรษฐกิจขับเคลื่อน ด้วยปัจจัยการผลิต เศรษฐกิจขับเคลื่อน ด้วยการลงทุน เศรษฐกิจขับเคลื่อน ด้วยนวัตกรรม เพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตด้วยการ ลงทุนจำนวนมาก ต้นทุน ปัจจัยการผลิต สร้างคุณค่า ที่เป็นเอกลักษณ์

  26. ความสามารถทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีผลต่อการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ คะแนนความสามารถในการแข่งขันโดยรวม คะแนนความสามารถในการแข่งขันโดยรวม คะแนนความสามารถในการแข่งขันโดยรวม คะแนนความสามารถในการแข่งขัน ด้านโครงสร้างพื้นฐาน โครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ โครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี ที่มา : International Institute for Management Development (2007). World Competitiveness Yearbook 2007. ประเทศที่มีความสามารถในการแข่งขันโดยรวมสูงอันดับต้นๆ ส่วนใหญ่ อาทิ สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ ฟินแลนด์ ญี่ปุ่น และไต้หวัน เป็นประเทศที่มีความสามารถในการแข่งขันทางเทคโนโลยีสูง

  27. ลดผลลบและแสวงหาประโยชน์ด้วยการเป็นKBEลดผลลบและแสวงหาประโยชน์ด้วยการเป็นKBE หากเป็น KBE ความ กินดี อยู่ดี ผลบวก • สินค้า/บริการใหม่ที่เกิดจากเทคโนโลยีจิ๋วในเศรษฐกิจ • โมเลกุลและการผสมผสานความรู้กับภูมิปัญญาดั้งเดิม • โอกาสในการเป็นส่วนหนึ่งของ Global Value Chain • ความรู้ทำให้ประชาชนมีอำนาจและความมั่งคั่ง • ทางวัตถุและวัฒนธรรมมากขึ้น หากไม่เป็น KBE ผลลบ • วิกฤติพลังงานและสิ่งแวดล้อมโลก • โรคอุบัติใหม่ (emerging diseases) • การก่อการร้าย/อาชญากรรมข้ามชาติ • วัฒนธรรม/ค่านิยมต่างชาติทีไม่เหมาะสม Pre-KBE Sustainable KBE เวลา Take off Phase of KBE

  28. ต้องการระบบเศรษฐกิจที่สามารถรองรับพลวัตของการเปลี่ยนแปลงต้องการระบบเศรษฐกิจที่สามารถรองรับพลวัตของการเปลี่ยนแปลง เพิ่มโอกาส • พลวัตของการปลี่ยนแปลงที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว • โลกาภิวัตน์ • ประเด็นอุบัติใหม่ • ความสามารถในการแข่งขัน • ของภาคผลิต / บริการ • ความสามารถในการบริหาร • จัดการตนเองของชุมชน • ความสมดุลของสังคม • สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม เศรษฐกิจฐานความรู้(KBS) (มีความรู้เพียงพอที่จะปรับตนเองได้เร็วและทันการณ์) สร้างภูมิคุ้มกัน สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

  29. Functional Food GMOs Traceability/ Safety & Risk management บริการสาธารณสุขสำหรับประชาชนทั่วไป อาหาร Medical Hub กลไกตลาดภาครัฐ เพื่อพัฒนาเทคโนโลยี 1. การกีดกันทางการค้า / IP 5. คุณภาพทางการแพทย์ กาก/ซาก ของเสีย อุตสาหกรรม พลังงานนิวเคลียร์ โลกร้อน Solar Energy Biofuel deterioration/disaster พลังงานทางเลือก 4. สิ่งแวดล้อม 2. ปัญหาพลังงาน 3. Emerging Lifestyle/ Ageing Society การแย่งชิงทรัพยากร การว่างงาน/immigrants ดึงพลังชุมชน Western Lifestyle/ Individualism น้ำ Biodiversity ฯลฯ Virtualisation/ knowledge-based ประเด็นอุบัติใหม่ ICT Aging สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

  30. Software & Microchip Food Auto- mobile Textile Tourism Health Bio Industry กรอบแผนกลยุทธ์ฯ เศรษฐกิจ สังคม พัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ เศรษฐกิจชุมชน และคุณภาพชีวิต OTOP กลยุทธ์ 1 สิ่งแวดล้อม OTOP เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส Core Technologies Nanotechnology Materials technology Biotechnology ICT Scientific Knowledge life science, chemistry, physics, math, computer, material science พัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน สร้างความตระหนักด้าน ว&ท กลยุทธ์ 3 กลยุทธ์ 2 กลยุทธ์ 4 พัฒนากำลังคน ปรับระบบบริหารจัดการ กลยุทธ์ 5 สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

  31. Scientific Knowledge Physics: - Nanophysics: Metallurgy, Magnetism, Optics, Quantum mechanics etc. - Physics of global warming and climate change - Solar technologies: Photovoltaic cell, Thin film solar cell etc. - Nuclear technologies: Nuclear power, Medical application, Industrial application, Commercial applications, Food processing and agriculture etc. - Medical physic device - Etc. Chemistry: - Quantum: Atomic and molecular physics, Laser induced breaking of chemical bonds, Electronic properties of dye-sensitized solar cells etc. -NanoChems: NanoChems for wood and metal coating, NanoChems biopolymer product, NanoChems for waste water treatment etc. -Medical Chemistry: Natural products, Drug design, Biological active cpd., Drug molecules etc. -Climate change: Carbon-capture technology etc. - Etc.

  32. Scientific Knowledge Biology: - Stem cells: Embryonic stem cell, Somatic stem cell etc. - Emerging diseases: etc. - BioNanotechnology: Biosensors etc. - Gene therapy: etc. - Nutraceutrical: (Nutrition + Pharmaceutical) -Climate change: Biofuel production, Biosphere & Biodiversity, Evolution of life, Human ecology etc. - Etc. Mathematic: - Mathematic modeling - Biomathematics - Fractal -Bioinformatics - Etc.

  33. ตัวชี้วัดสำคัญที่สะท้อนอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ตัวชี้วัดสำคัญที่สะท้อนอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ที่มา : International Institute for Management Development (2006). World Competitiveness Yearbook 2006. 33

  34. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : www.most.go.th ขอบคุณ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ

More Related