1 / 40

เรื่อง การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือน ด้านรายได้และรายจ่าย

เรื่อง การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือน ด้านรายได้และรายจ่าย สำหรับนำข้อมูลมาจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภค. Story Telling. รวบรวมถ่ายทอดจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียและองค์กรอื่น. วันศุกร์ที่ 4 กรกฎาคม 2551 เวลา 10.00 – 12.00 น. ณ ห้องประชุมสำนักสถิติเศรษฐกิจสังคมและประชามติ 2

Download Presentation

เรื่อง การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือน ด้านรายได้และรายจ่าย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เรื่อง การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือน ด้านรายได้และรายจ่าย สำหรับนำข้อมูลมาจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภค Story Telling รวบรวมถ่ายทอดจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียและองค์กรอื่น วันศุกร์ที่ 4 กรกฎาคม 2551 เวลา 10.00 – 12.00 น. ณ ห้องประชุมสำนักสถิติเศรษฐกิจสังคมและประชามติ 2 สำนักงานสถิติแห่งชาติ จัดโดย

  2. NSO สำนักสถิติเศรษฐกิจสังคมและประชามติ 2 การสำรวจ ภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ปี 2550 โดย รัจนา เนตรแสงทิพย์ ผู้อำนวยการสำนักสถิติเศรษฐกิจสังคมและประชามติ 2

  3. วัตถุประสงค์ เพื่อต้องการทราบข้อมูลพื้นฐานด้านเศรษฐกิจ และสังคมของครัวเรือน เช่น • ข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือน (สมาชิก อายุ การศึกษา อาชีพ การทำงาน สวัสดิการที่ได้รับ ภาระของครัวเรือน สภาพที่อยู่อาศัย) • รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือน (ต่อคน) • รายจ่ายเฉลี่ยต่อครัวเรือน • ทรัพย์สิน หนี้สิน • การกระจายรายได้

  4. การใช้ประโยชน์ จัดทำฐานข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม ของครัวเรือน ที่สมบูรณ์ที่สุดของประเทศ ทำ Poverty Mapping GDP (รายปี/รายไตรมาส) Poverty Line Hunger Mapping สสช. สศช. FAO

  5. การใช้ประโยชน์ (ต่อ) CPI (ดัชนีราคาผู้บริโภค) วิเคราะห์หนี้สิน/ทรัพย์สิน ภาคครัวเรือน ธปท. ก.การคลัง นำเสนอข้อมูลสุขภาพในด้านเศรษฐกิจ จัดทำงบประมาณโครงการ 30 บาท ภาวะเศรษฐกิจและสังคมของ ครัวเรือนเกษตร ก.พาณิชย์ ก.สาธารณสุข ก.เกษตรฯ

  6. ควาามเป็นมา แบบสำรวจรายการใช้จ่ายของครัวเรือน ทำการสำรวจทุก 5 2 ปี เดิม (ก่อน 2549) แบบสำรวจรายได้ (ข้อมูลพื้นฐาน, รายได้, ทรัพย์สิน, หนี้สิน, การออม) ขนาดตัวอย่าง 46,000 ครัวเรือน

  7. 1. เปลี่ยนแปลงคาบเวลาการสำรวจ (ตั้งแต่ 2549) แบบสอบถามหลัก(Core Module) ทำการสำรวจทุกปี แบบสำรวจสมาชิกและการใช้จ่ายของครัวเรือน ใหม่ (สมาชิกครัวเรือน ลักษณะที่อยู่อาศัย รายจ่าย) ทำการสำรวจทุก 2-3 ปี แบบสอบถามพิเศษ(Special Module) แบบสำรวจรายได้ของครัวเรือน (รายได้ ทรัพย์สิน และหนี้สิน การย้ายถิ่น/การส่งเงิน) แบบสำรวจอนามัยและสวัสดิการสังคม แบบสำรวจการศึกษา อื่นๆ

  8. 2. ปรับปรุงแบบสอบถามและการนำไปใช้ประโยชน์ : • ปรับปรุงแบบสอบถามเกี่ยวกับรายได้และ • รายจ่ายให้กระชับและถามง่ายขึ้น • เพิ่มข้อถามที่สำคัญให้ครอบคลุมข้อมูลทุกด้าน • เช่น การย้ายถิ่นและการส่งเงิน การได้รับความช่วย • เหลือจากรัฐบาล ภาระของครัวเรือน (คนพิการ) • เพื่อให้มีข้อมูลด้านสังคม เช่น สุขภาพ การศึกษา • ที่สามารถนำเสนอผลในแง่มุมด้านเศรษฐกิจได้ • (ใช้ประกอบการพิจารณานโยบายได้กว้างขึ้น)

  9. แผนงานโครงการ แบบสอบถาม 2549 50 51 52 53 54 55 แบบสอบถามหลัก -รายจ่าย (รายหมวด) -รายจ่าย (รายละเอียดสินค้า/ บริการ/อาหาร) แบบสำรวจรายได้ แบบสำรวจอนามัยและสวัสดิการ แบบสำรวจการศึกษา แบบสำรวจการออมและ การเข้าถึงบริการการเงิน(ธปท.) แบบสอบถามพิเศษ

  10. การแจงนับ แบบสอบถามพิเศษ แบบสอบถามหลัก (2549, 51,…) (ทุกปี) สศส.2(รายจ่าย) (12 เดือน) (Record 1- 12) สรุปข้อมูลครัวเรือน ตอนที่ 1 สมาชิกของครัวเรือน ตอนที่ 2 ลักษณะที่อยู่อาศัย ตอนที่ 3 ค่าใช้จ่ายสินค้าและบริการ ตอนที่ 4 ค่าใช้จ่ายอาหาร เครื่องดื่มและยาสูบ

  11. แบบสอบถามพิเศษ (2549, 51,....) อื่น ๆ สอส. (อนามัยฯ) สศส.3 (รายได้) (6 เดือน) (12 เดือน) (Record 13- 18) (Record 19 - 20) ตอน 1 จากค่าจ้าง/เงินเดือน ตอน 1 หลักประกันด้านสุขภาพ ตอน 2 จากธุรกิจ อุตสาหกรรม ตอน 2 การเจ็บป่วย วิชาชีพ การรับบริการสาธารณสุข ตอน 3 จากการเกษตร ตอน 3 การประเมินสถานะสุขภาพ ตอน 4 การสูบบุหรี่ ตอน 4 จากแหล่งอื่น ๆ (ที่ไม่ใช่จากการทำงาน) ตอน 5 การดื่มสุราฯ ตอน 6 ความปลอดภัยในการขับขี่ ตอน 5 ทรัพย์สินและหนี้สิน ตอน 6 การย้ายถิ่น/การส่งเงิน ตอน 7 การบาดเจ็บ/อุบัติเหตุ

  12. ครัวเรือนส่วนบุคคลทุกจังหวัด ทั่วประเทศ ทั้งในเขต/ นอกเขตเทศบาล ครัวเรือนส่วนบุคคลที่อาศัยในครัวเรือนสถาบัน (หอพัก โรงพยาบาล ฯลฯ) รวม คุ้มรวม

  13. แผนการสุ่มตัวอย่าง Stratified Two-Stage Sampling หน่วยตัวอย่าง ขั้นที่ 1 ชุมรุมอาคาร/หมู่บ้าน (4,090) ขั้นที่ 2 ครัวเรือนส่วนบุคคล (52,000) ระเบียบวิธีการสำรวจ

  14. สัมภาษณ์ ก.พ.50 สัมภาษณ์ ก.พ.50 1 ก.พ.49 31 ม.ค.50 1-31 ม.ค.50 สัมภาษณ์ ก.พ.50 (สัปดาห์ที่ 2) 31 ม.ค.50 สัปดาห์ ที่ 1 เวลาที่อ้างอิง 1. ในรอบ 12 เดือนที่แล้ว ; 2. เดือนที่แล้ว ; 3. สัปดาห์ที่แล้ว ;

  15. คาบการปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานสนาม วันที่ 7 - 20 ของทุกเดือน บรรณาธิกรและลงรหัส วันที่ 21 - 25 ของทุกเดือน บันทึกข้อมูล วันที่ 26 - 30 ของทุกเดือน ส่งแบบและไฟล์ข้อมูลถึงส่วนกลาง ภายในอาทิตย์แรกของเดือนถัดไป ของตอบแทนครัวเรือน (เฉพาะครัวเรือนที่แจงนับได้) ให้ สถจ. กบจ. ซื้อเอง 50 บาทต่อครัวเรือน แบบ สศส.2 (อาหาร 7 วัน) 200 บาท ต่อครัวเรือน

  16. การสำรวจ สศส. ต้องการทราบ • รายได้ ทุกประเภท (เงิน/สิ่งของ) ถามในรอบ 12 เดือนที่แล้ว . (แล้วนำมาหาค่าเฉลี่ย/เดือน ; 12) . รายได้/รายจ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน (ในรอบปีที่ผ่านมา) หนี้สินและทรัพย์สินของครัวเรือน

  17. ไม่ใช่อาหาร (จ่ายจริง) ถามในรอบเดือนที่แล้ว . (รายการที่จ่ายบ่อย ๆ เป็นประจำ) . ถามในรอบ 12 เดือนที่แล้ว (แต่อาจเกิดในเดือนที่แล้วก็ได้) (รายการที่นานๆ จ่ายครั้ง) (แล้วนำมาหาค่าเฉลี่ย/เดือน ; 12) อาหาร • รายจ่าย ถามในรอบสัปดาห์ที่แล้ว (เพื่อให้สะดวกต่อการนึกคิด และความจำ) (แล้วนำมาหาค่าเฉลี่ย/เดือน) (บริโภคจริง)

  18. รายได้ของครัวเรือน (ในรอบ 12 เดือนที่แล้ว) (เงิน/สิ่งของ) - เงินรางวัล ถูกสลากกินแบ่ง - เงินมรดก ของขวัญ - เงินจากประกันสุขภาพ/อุบัติเหตุ ไฟไหม้ (ไม่ใช่ประเภทสะสมทรัพย์) - ค่านายหน้า (ไม่ใช่ธุรกิจ) รายได้ไม่ประจำ รายได้ประจำ

  19. รายได้ประจำ ประเมินค่าเช่าบ้าน ของตนเอง ที่อยู่เอง/ ได้อยู่ฟรี - เงินบำเหน็จ/บำนาญ - เงินชดเชยออกจากงาน - เงินประโยชน์ทดแทน(อุบัติเหตุ เจ็บป่วย) - เงินช่วยเหลือจากบุคคลอื่น - รายได้จากทรัพย์สิน(ดอกเบี้ย ค่าเช่า ค่าลิขสิทธิ์) - การลงทุน(ที่ไม่ได้ร่วมทำงาน)(ซื้อหุ้น รับเงินปันผล) จากการทำงาน ไม่ใช่จากการทำงาน

  20. จากการทำงาน ประกอบธุรกิจ ค่าจ้าง/เงินเดือน อุตสาหกรรม (ก่อนหักภาษี/เงินสมทบ) วิชาชีพ งานส่วนตัว รวม - ส่วนบุคคล - ปลูกพืช/ทำป่าไม้ - เลี้ยงสัตว์ - ค่าตอบแทน - ส่วนบุคคล - เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ - ห้างหุ้นส่วน (โบนัส ค่าล่วงเวลา - ประมง (ไม่จดทะเบียน) เปอร์เซ็นต์การขาย..) - หาของป่า/ล่าสัตว์ - สวัสดิการ (ไม่รวม นิติบุคคล) - บริการทางการเกษตร (ไม่รวม นิติบุคคล) ประกอบการเกษตร

  21. ค่าใช้จ่ายของครัวเรือน ค่าใช้จ่ายของครัวเรือน (ในรอบ 12 เดือนที่แล้ว) ซื้อ/ จ่าย ด้วยเงิน / สิ่งของ ไม่ได้ซื้อ/ จ่าย ผลิตเอง/ของในร้าน ได้ฟรี / ได้รับความช่วยเหลือ เบิกได้ เป็นสวัสดิการจากการทำงาน ค่าใช้จ่ายสินค้าและบริการ ค่าใช้จ่ายอาหาร เครื่องดื่ม ยาสูบ

  22. ไม่ใช่การอุปโภค/ บริโภค อุปโภค/ บริโภค ในครัวเรือน ในครัวเรือน 1. ที่อยู่อาศัย • ภาษี การบริการทางการเงิน ค่าปรับ • ค่าสมาชิกกลุ่มอาชีพ 2. เครื่องแต่งบ้าน ของใช้เบ็ดเตล็ด • เงิน/สิ่งของให้บุคคลนอกครัวเรือน การดำเนินการในบ้าน 3. ค่าจ้างบุคคลที่ให้บริการครัวเรือน เงินบริจาค ทำบุญ/ช่วยงาน 4-5 เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย รองเท้า - เบี้ยประกันภัย/ ชีวิต (ไม่ใช่สะสมทรัพย์) 6. ของใช้/ บริการส่วนบุคคล • ซื้อสลากกินแบ่ง/หวย การพนัน 7. เวชภัณฑ์/ค่ารักษาพยาบาล • ดอกเบี้ยจ่าย ดอกเบี้ยแชร์ 8. การเดินทาง/ การสื่อสาร • อื่นๆ (ค่าขนย้าย, ...) 9. การศึกษา 10-11 การบันเทิง/กีฬา การอ่าน กิจกรรมทางศาสนา จัดงานพิธี

  23. 1. ข้าว แป้ง และอาหารที่ทำจากแป้ง 2. เนื้อสัตว์ และสัตว์ปีกทุกชนิด 3. ปลาและสัตว์น้ำอื่น ๆ 4. อาหารประเภทนม เนย เนยแข็งและไข่ 5. น้ำมัน และไขมัน 6. ผลไม้ และถั่วเปลือกแข็ง 7. ผัก 8. น้ำตาลและขนมหวาน 9. เครื่องปรุงรส และเครื่องเทศ 10. เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ (บริโภคที่บ้าน) 11. อาหารสำเร็จรูปที่ซื้อมา (บริโภคที่บ้าน) 12. อาหารและเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ (บริโภคนอกบ้าน) 13. เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ (บริโภคใน/นอกบ้าน) 14. ยาสูบ หมาก ยานัตถุ์ และผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกัน

  24. ทรัพย์สินทางการเงิน ทรัพย์สินอื่นๆ - เงินฝาก - บ้าน/ที่ดิน - หุ้น ตั๋วสัญญาใช้เงิน - รถยนต์ - พันธบัตร - เงินประกันชีวิต (ประเภทสะสมทรัพย์) - เงินให้กู้ยืม - เงินส่งแชร์ -ทอง/เครื่องเพชร ฯลฯ 25. ทรัพย์สินของครัวเรือน

  25. - เงินกู้ยืมที่ค้างชำระ (สถาบันการเงิน/ บุคคลอื่นนอกครัวเรือน) - หนี้ที่เกิดจากการเช่าซื้อ การซื้อสินค้าเงินผ่อน เงินเชื่อจากร้านค้า (รวมการรับลูกสัตว์มาเลี้ยงก่อน และหักค่าใช้จ่ายภายหลัง) - การจำนำ/ จำนอง - การส่งแชร์ (ตาย) 26. หนี้สินของครัวเรือน

  26. การแจงนับ สศส. 2550 1) แบบรายจ่าย(12 เดือน) - สศส.2 80% - สศส.2 (พิเศษ) 20% สศส.2 (อาหาร 7 วัน) 2) แบบรายได้(12 เดือน) - สศส.3 100% 3) แบบสำรวจอนามัยฯ(6 เดือน) - สอส.50 100%

  27. - สศส.2 (พิเศษ) 20% สศส.2 (อาหาร 7 วัน) การแจงนับ ต้องเลือกตัวอย่างใหม่ทดแทน ถ้าแจงนับไม่ได้ นอกเขต ; ครัวเรือนที่ 2, 7 ในเขต ; ครัวเรือนที่ 2, 7, 12

  28. ปี 2549 (100%) ปี 2550 (80%) ตอนที่ 1 สมาชิกครัวเรือน ตอนที่ 1 เหมือน ปี 49 ตอนที่ 2 ลักษณะที่อยู่อาศัย ตอนที่ 2 ตอนที่ 3 ค่าใช้จ่ายสินค้าและ ตอนที่ 3 และบริการ ตอนที่ 4 ค่าใช้จ่ายอาหาร ตอนที่ 4 ค่าใช้จ่ายอาหาร เครื่องดื่ม และยาสูบ หมวด ก อาหารแห้ง/สำเร็จรูป เครื่องดื่ม และยาสูบ ที่เก็บไว้บริโภคได้นาน เกิน 1 สัปดาห์ (ที่บริโภคจริงในรอบสัปดาห์) (เฉพาะที่ครัวเรือนบริโภคประจำสม่ำเสมอ) หมวด ข อาหารทุกชนิด (บริโภคในรอบสัปดาห์) แบบ สศส.2 (รายจ่าย)

  29. 550 = 128 1 1 2 ถัง 550 ข้าวสาร 1 x 4.3 45 2 1 45 3 = 15 ห่อ วุ้นเส้น 3 450 = 105 1 3 2 กก. 450 เนื้อเค็ม 1 x 4.3 150 x 7 = 105 10 กก. 1 1 150 กุนเชียง 10 ตัวอย่างการบันทึก ตอนที่ 4 หมวด ก อาหารแห้งฯ ที่เก็บไว้บริโภคเกิน 1 สัปดาห์

  30. แบบ สศส.2 (พิเศษ),สศส2 (อาหาร 7 วัน) (รายจ่ายของสำนักดัชนีฯ) ตอนที่ 1, 2 (เหมือน สศส.2) ใช้จัดทำ CPI และ Poverty line สศส.2 (พิเศษ) (20%) สศส.2 (อาหาร 7 วัน)(20%) ตอนที่ 3 ค่าใช้จ่ายสินค้าและบริการ (แบบละเอียด) ตอนที่ 4 ค่าใช้จ่ายอาหาร เครื่องดื่ม และยาสูบ (แบบละเอียด) แบบจดบันทึก (ทุกวัน) ค่าใช้จ่ายของ ครัวเรือน หมวด ก อาหารแห้ง/สำเร็จรูป ที่เก็บไว้บริโภคได้นาน เกิน 1 สัปดาห์ (เฉพาะที่ครัวเรือนบริโภคประจำสม่ำเสมอ) เกี่ยวกับอาหาร 7 วัน หมวด ข อาหารทุกชนิด (บริโภคในรอบสัปดาห์)

  31. ผลการสำรวจ สศส. 2550 แผนภูมิ 1 รายได้/ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือน หนี้สินต่อรายได้

  32. แผนภูมิ 2 ร้อยละของครัวเรือนที่มีหนี้ และหนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน

  33. แผนภูมิ 3 ร้อยละของรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน จำแนกตามแหล่งที่มาของรายได้ (ปี 2550)

  34. แผนภูมิ 4 ร้อยละของค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครัวเรือน จำแนกตามประเภทค่าใช้จ่าย (ปี 2550)

  35. แผนภูมิ 5 ร้อยละของหนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน จำแนกตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืม (ปี 2550)

  36. ตาราง 1 การเปลี่ยนแปลง รายได้ ค่าใช้จ่าย และหนี้สิน ของครัวเรือน (ปี 2549 และ 2550) 1/ ปรับด้วยดัชนีราคาผู้บริโภค

  37. แผนภูมิ 6 ส่วนแบ่งของรายได้ประจำต่อคนต่อเดือน ปี 2549-2550 โดยจำแนกครัวเรือนเป็น 5 กลุ่ม

  38. บรรยากาศ

  39. บรรยากาศ

  40. ขอบคุณ ผู้อำนวยการสำนักสถิติเศรษฐกิจสังคมและประชามติ 2 และข้าราชการสำนักสถิติฯ ทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่ง

More Related