1 / 24

การจัดการชายฝั่งอย่าง บูรณา การ

โครงการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง รายจังหวัด 23 จังหวัด. การจัดการชายฝั่งอย่าง บูรณา การ. ประกอบการประชุมรับฟังความคิดเห็น ครั้งที่ 3 การก่อสร้างเขื่อนป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง ชายหาดบางเสร่ โดย ดร.เพ่ง บัวหอม ปลัด ทต.บางเสร่.

Download Presentation

การจัดการชายฝั่งอย่าง บูรณา การ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งโครงการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง รายจังหวัด 23 จังหวัด การจัดการชายฝั่งอย่างบูรณาการ ประกอบการประชุมรับฟังความคิดเห็น ครั้งที่ 3 การก่อสร้างเขื่อนป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง ชายหาดบางเสร่ โดย ดร.เพ่ง บัวหอม ปลัด ทต.บางเสร่

  2. การจัดการชายฝั่งอย่างบูรณาการ (Integrated Coastal Management; ICM)หมายถึง กระบวนการจัดการที่มีการผสมผสานกันระหว่างหน่วยงานและแผนงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มผู้ใช้ประโยชน์หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียองค์ความรู้ต่างๆ ทั้งทางวิทยาศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรม และเศรษฐกิจ เพื่อนำมาวางแผนการพัฒนาและการนำไปปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนควบคู่ไปกับการอนุรักษ์พื้นที่และทรัพยากรชายฝั่ง

  3. กรอบแนวคิดการจัดการชายฝั่งอย่างบูรณาการ (ICM) 2 การเริ่มต้น • การรวบรวมข้อมูลที่เป็นประโยชน์ • ด้านสิ่งแวดล้อม • การระบุปัญหาและจัดลำดับความสำคัญ • การประเมินความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น • การลงมติจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การตระหนักของประชาชน • กลยุทธ์การจัดการชายฝั่ง • ระบบการจัดการข้อมูลแบบบูรณาการ 3 1 5 การกลั่นกรองและรวบรวมข้อมูล สำหรับระยะถัดไป • การจัดตั้งสถาบัน • การตรวจสอบและการประเมินผล • การปรับแก้กลยุทธ์และแผนการดำเนินงาน • การวางแผนการดำเนินงานในระยะถัดไป การเตรียมความพร้อม • การรวบรวมข้อมูล • การประเมินความเสี่ยงอย่างละเอียด • แผนยุทธศาสตร์การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม • แผนการดำเนินงานแยกตามประเภทของ • ปัญหา และ/หรือ พื้นที่ • การเตรียมการของสถาบัน • ทางเลือกด้านการเงิน/การลงทุน • การตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อม • ความร่วมมือของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • กลไกการบริหารจัดการโครงการ • แผนงานและงบประมาณ • การจัดการทรัพยากรบุคคลและการเงิน • การปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ • การตรวจสอบโครงการ การพัฒนา การดำเนินการ • การประสานงานและกลไกการจัดการ • การตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อม • แผนการดำเนินงาน เริ่มต้น วัฏจักรใหม่ 4 การนำมาใช้ • การจัดการและกลไกการบังคับใช้กฎหมาย • แผนยุทธศาสตร์การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและแผนการดำเนินงาน • กลไกการระดมทุน 6 5

  4. กรอบแนวคิดการจัดการชายฝั่งอย่างบูรณาการ (ICM) 1 • กลไกการบริหารจัดการโครงการ • แผนงานและงบประมาณ • การจัดการทรัพยากรบุคคลและการเงิน • การปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ • การตรวจสอบโครงการ การเตรียมความพร้อม

  5. กรอบแนวคิดการจัดการชายฝั่งอย่างบูรณาการ (ICM) 2 • การรวบรวมข้อมูลที่เป็นประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อม • การระบุปัญหาและจัดลำดับความสำคัญ • การประเมินความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น • การลงมติจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การตระหนักของประชาชน • กลยุทธ์การจัดการชายฝั่ง • ระบบการจัดการข้อมูลแบบบูรณาการ การเริ่มต้น

  6. กรอบแนวคิดการจัดการชายฝั่งอย่างบูรณาการ (ICM) 3 • การรวบรวมข้อมูล • การประเมินความเสี่ยงอย่างละเอียด • แผนยุทธศาสตร์การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม • แผนการดำเนินงานแยกตามประเภทของ ปัญหา และ/หรือ พื้นที่ • การเตรียมการของสถาบัน • ทางเลือกด้านการเงิน/การลงทุน • การตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อม • ความร่วมมือของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การพัฒนา

  7. กรอบแนวคิดการจัดการชายฝั่งอย่างบูรณาการ (ICM) 4 • การจัดการและกลไกการบังคับใช้กฎหมาย • แผนยุทธศาสตร์การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและแผนการดำเนินงาน • กลไกการระดมทุน การนำมาใช้

  8. กรอบแนวคิดการจัดการชายฝั่งอย่างบูรณาการ (ICM) 5 • การประสานงานและกลไกการจัดการ • การตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อม • แผนการดำเนินงาน การดำเนินการ

  9. กรอบแนวคิดการจัดการชายฝั่งอย่างบูรณาการ (ICM) 6 • การจัดตั้งสถาบัน • การตรวจสอบและการประเมินผล • การปรับแก้กลยุทธ์และแผนการดำเนินงาน • การวางแผนการดำเนินงานในระยะถัดไป การกลั่นกรองและรวบรวมข้อมูล สำหรับระยะถัดไป

  10. ตัวอย่างพื้นที่การจัดชายฝั่งอย่างบูรณาการในจังหวัดชลบุรี พื้นที่ตำบลแสนสุข • ชายฝั่งมีความยาว 12,140 เมตร • แบ่งออกเป็น 6 โซน คลองบางโปรง เทศบาลเมืองแสนสุข แนวชายฝั่งทะเล คลองสุดเขต

  11. ZONE 1 rock-sand and mangrove morphology จากคลองบางโปรงถึงวัดไตรมุขลักษณะเป็นหาดทรายปนหินและป่าชายเลน ความยาวประมาณ 1,330 เมตร

  12. ZONE 2 จากวัดไตรมุขถึงเชิงเขาสามมุขฝั่งศาลเจ้าแม่สามมุข)ลักษณะเป็นหินความยาวประมาณ 1,149 เมตร

  13. ZONE 3 sandy-rock morphology จากเชิงเขาสามมุขถึงโรงแรมเอส.เอส ลักษณะเป็นหาดทรายปนหินความยาวประมาณ 2,330 เมตร

  14. ZONE 4 sandy beach morphology จากโรงแรมเอส.เอสถึงบางแสนล่างซอย8 ลักษณะเป็นหาดทรายความยาวประมาณ 2,620 เมตร

  15. ZONE 5 stone set to protect erosion morphology จากบางแสนล่างซอย8 ถึงซอยนทีทิพย์ลักษณะเป็นเขื่อนหินป้องกันชายฝั่งความยาวประมาณ 800เมตร

  16. ZONE 6 sandy beach morphology จากซอยนทีทิพย์ถึงคลองสุดเขตเทศบาลลักษณะเป็นหาดทราย ความยาวประมาณ 3,911 เมตร

  17. สาเหตุการกัดเซาะชายฝั่งสาเหตุการกัดเซาะชายฝั่ง • เป็นพื้นที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงของจังหวัด • มีสร้างถนนเลียบชายฝั่งพร้อมกำแพงป้องกันการกัดเซาะ การใช้ประโยชน์ที่ดิน • การขาดความรู้ ความเข้าใจของประชาชนและหน่วยงาน • ในท้องถิ่น ด้านชุมชน v • ขาดความสมดุลของทรายชายหาด • การเคลื่อนตัวของมวลทรายในทะเล ปริมาณสุทธิปีละ 90,465 • ลบ.ม.ไปทางทิศเหนือ ทางด้านกายภาพ v • ด้านทิศใต้ มีโครงการป้องกันการกัดเซาะกำแพงกันคลื่น • (Seawall) ก่อให้เกิดการ กัดเซาะรุนแรงบริเวณปลายสุด • ของกำแพง • ด้านทิศเหนือมีโครงสร้างป้องกันตลิ่งแบบ หินทิ้ง ทำให้ทิศทาง • ของคลื่นเปลี่ยนแปลง สิ่งก่อสร้างในพื้นที่ v

  18. พื้นที่ได้รับผลกระทบ ถนนลงหาดบางแสนเ บริเวณชายหาดบางแสนล่าง

  19. พื้นที่กัดเซาะ ถนนลงหาดบางแสนเ บริเวณชายหาดวอนนภา

  20. ทางเลือกในการแก้ไขปัญหาทางเลือกในการแก้ไขปัญหา การแก้ไขปัญหา เริ่มตั้งแต่พื้นที่ชายฝั่งบริเวณวงเวียนแสนสุขลงไปทางทิศใต้ มีความยาวชายฝั่ง 3.2 กม. สำหรับแนวทางของการแก้ไขการกัดเซาะชายฝั่งเขตเทศบาลเมืองแสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี มี 4 แนวทางเลือก คือ

  21. วงเวียนเทศบาลเมืองแสนสุขวงเวียนเทศบาลเมืองแสนสุข แนวชายหาดสมดุล หัวหาด 20 ม ภาพอนาคต พร้อมจัดภูมิทัศน์ชายหาด

  22. พื้นที่ตำบลแสนสุข อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี เป็นพื้นที่ตัวอย่างในการจัดชายฝั่งอย่างบูรณาการในจังหวัดชลบุรี ซึ่งเกิดจากการให้ความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐ ชุมชน ประชาชน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปวางแผนและนำไปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืนในการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง

  23. ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิมเติมได้ที่ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิมเติมได้ที่ • ร่วมแสดงความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ • สามารถร่วมแสดงความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะต่อโครงการได้ที่ • บริษัท วิสุทธิ คอนซัลแตนท์ จำกัด • เลขที่ 1/833 หมู่ 17ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12130 • โทร.02-993-8953-6 Fax. 02-993-8957 • Email: masterplan@visuddhi.co.th

  24. ขอบคุณครับ ขอขอบคุณ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

More Related