1.48k likes | 1.81k Views
วิชาจุลชีวะและปรสิตวิทยา แบคทีเรียที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ. อาจารย์อัมพร ไหลประเสริฐ พยาบาลศาสตร์ วิสัญญีพยาบาล วทม.สาขาโรคติดเชื้อ Master of Caring Science (Nursing) 14/3/55 . วัตถุประสงค์. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปร่าง ลักษณะคุณสมบัติของแบคทีเรียที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ
E N D
วิชาจุลชีวะและปรสิตวิทยาแบคทีเรียที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพวิชาจุลชีวะและปรสิตวิทยาแบคทีเรียที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ อาจารย์อัมพร ไหลประเสริฐ พยาบาลศาสตร์ วิสัญญีพยาบาล วทม.สาขาโรคติดเชื้อ Master of Caring Science (Nursing) 14/3/55
วัตถุประสงค์ • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปร่าง ลักษณะคุณสมบัติของแบคทีเรียที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ • ตระหนักถึงความสำคัญของแบคทีเรียที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ • สามารถนำความรู้เรื่องแบคทีเรียที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติการพยาบาลและใช้กับชีวิตประจำวันได้ • ระบุรูปร่างคุณสมบัติ สาเหตุการเกิดโรคการแพร่กระจายของแบคทีเรียชนิดต่างๆได้ • บอกวิธีการป้องกันการติดเชื้อจากแบคทีเรียชนิดต่างๆได้
Bacteria สาระการเรียนรู้ • Aerobic Gram Positive Cocci • Aerobic Gram Negative Cocci • Aerobic Gram Negative Bacilli • Aerobic Gram Positive Bacilli • Spirochetes • Chlamydia • Rickettsia • Anearobic Gram Positive Bacilli
Aerobic Gram Positive Cocci • ย้อมติดสีน้ำเงินม่วง • Staphylococcus • Streptococcus
Staphylococcus • เป็นแบคทีเรียกรัมบวกมีรูปร่างกลม • อยู่เป็นกลุ่มๆ (cluster) คล้ายพวงองุ่น • เจริญได้ดีบนอาหารเลี้ยงเชื้อธรรมดา • สามารถทำลาย RBC • ทำให้พลาสมาแข็งตัวได้
Staphylococcus • พบเชื้อที่ผิวหนังและเยื่อบุเมือกต่างๆของร่างกาย เช่น Colonization บนเยื่อบุจมูก ไม่ก่อให้เกิดโรคแต่เป็นเชื้อดื้อยาคือ MRSA(Methicillin-resistant Staphylococcus aureus) • ทำให้เกิดฝีหนองต่างๆ • สร้าง enterotoxinทำให้อาหารเป็นพิษ
การจำแนกเชื้อ Staphylococcus • Staphylococcus aureusพบเชื้อในช่องจมูก เกิดฝีหนอง • Staphylococcusepidermidis ปกติเป็นเชื้อประจำถิ่นบนร่างกาย ติดเชื้อจากการใส่สายหรืออุปกรณ์เข้าร่างกาย • Staphylococcus saprophyticus ทำให้เกิด Urinary Tract infection (UTI)
ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค • Hemolysinทำลายเม็ดเลือดแดงได้ • Leukocidinทำลายเม็ดเลือดขาว • Enterotoxinทำให้อาหารเป็นพิษในคนได้ • Coagulaseทำให้พลาสมาแข็งตัวเป็นลิ่ม • Hyaluronidaseเป็นเอนไซม์ที่ช่วยให้เชื้อโรคบุกรุกเข้าไปเจริญในเนื้อเยื่อได้ดี • Epidermolysinทำให้เกิดการหลุดลอกของหนังกำพร้าทั่วร่างกาย
การทำให้เกิดโรค S. aureus • Wound sepsis, Endocarditis • Meningitis, Osteomyelitis • Food poisoning จาก Enterotoxin • Nosocomial infection จากเทคนิคปราศจากเชื้อ ไม่ดี เครื่องมือไม่สะอาด ติดเชื้อจากการทำหัตถการเช่นเชื้อ MRSA, E. coli (Bacillus)
Staphylococcus aureus ทำให้เกิด Wound sepsis
การตรวจวินิจฉัย staphylococcus • Specimen ที่ส่งตรวจหาเชื้อได้แก่ หนอง เลือด เสมหะ น้ำไขสันหลัง เพื่อนำมาย้อมสีแกรมจะติดสีน้ำเงินม่วง
Streptococcus • รูปร่างกลมหรือรีเรียงตัวเป็นสายยาว (Chain) • แคปซูลมีส่วนประกอบของ โพลีแซคคาไรด์ • Cell wall สร้างแอนติเจน M,T,R • เจริญได้ดีบนอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีเลือดหรือซีรั่มผสมอยู่เรียก Blood agar • เชื้ออยู่ใน ปาก คอ ต่อมทอนซิลของหมู ถ้าเรากินเลือดสดๆ อาจทำให้ติดเชื้อได้ เชื้อนี้ทำให้เกิดหูดับ หูหนวก
Streptococcus ที่ทำให้เกิดโรค • Group A streptococci (S. pyogenes) ทำให้เกิดโรค - Pharyngitis - Tonsillitis - Impetigo โรคผิวตุ่มพอง - Septicemia - Scarlet fever ไข้ดำแดง ภาวะแทรกซ้อนหลังติดเชื้อ Group A • Rheumatic fever มีอาการปวดข้อ เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ • Glomerulonephritis (ไตอักเสบ)
Streptococcus Pharyngitis
Streptococcus ที่ทำให้เกิดโรค 2. Group B Streptococci • ทำให้เกิดโรค โลหิตเป็นพิษ • เยื่อหุ้มสมองอักเสบในเด็กแรกเกิด (meningitis) 3.Group C&G Streptococci • เกิดโรคเยื่อบุหัวใจอักเสบ (Pericarditis)
Streptococcus ที่ทำให้เกิดโรค 4.Group D Streptococci • S. faecalis ทำให้เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ และการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ 5.Alpha hemolytic streptococci • Viridans gr. เป็นเชื้อประจำถิ่นในช่องปาก • S. mitisเกิดโรคเยื่อบุหัวใจอักเสบ • S. mutansทำให้ฟันผุ
Toxin ของ Streptococcus • Streptokinase เชื้อ Beta hemolytic streptococci group A, C และ G สร้าง streptokinase เป็นเอนไซม์ที่ย่อย fibrin 2. Hyaluronidase เป็นเอนไซม์ย่อยกรด Hyaluronic acid (เป็นเอนไซม์ที่เชื่อมเซลล์ต่อเซลล์ให้ติดต่อกันเป็นเนื้อเยื่อ) 3. Streptodonase เป็นเอนไซม์ที่ depolymerize DNA
Toxin ของ Streptococcus 4. Erythrogenic toxin ทำให้เกิดผื่นแดงตามผิวหนังคนที่เป็นโรคไข้ดำแดง (Scarlet fever) 5. Hemolysin เชื้อ beta streptococci group A สร้าง Streptolysin O สลายเม็ดเลือดแดง ใช้ในการตรวจระดับ Ab ในซีรัมผู้ป่วยที่ติดเชื้อจาก Group A Streptococci ( Antistreptolysin O=ASO)
scarlet fever ไข้ดำแดง
Streptococcus pneumoniae • ทำให้เกิดโรค pneumonia, sinusitis, otitis media, meningitis • รูปร่างกลม ติดสีกรัมบวก อยู่เป็นคู่ • คนปกติมักพบ pneumococcus ในทางเดินหายใจส่วนบน เมื่อร่างกายมีภูมิต้านทานโรคต่ำจึงก่อโรค
Aerobic Gram Negative Cocci ย้อมติดสีแดง • Neisseria gonorrhoeae • Neisseria menigitidis
Neisseria • รูปร่างกลม ติดสีกรัมลบ อยู่เป็นคู่สอง รูปร่างคล้ายไต • ต้องการออกซิเจนในการเจริญเติบโต • อาหารเลี้ยงเชื้อ chocolate agar
พยาธิสภาพการเกิดโรคหนองในพยาธิสภาพการเกิดโรคหนองใน เมื่อเชื้อ N. gonorrhoeaeเข้าสู่ร่างกาย Pili เกาะยึดติดกับผนังเยื่อบุทางเดินปัสสาวะ เกิดเป็น microabcess แตกเป็นหนองไหล หนองประกอบด้วย polymorphonuclear leukocyte & gonococci
สาเหตุของการติดเชื้อหนองในสาเหตุของการติดเชื้อหนองใน • เพศสัมพันธ์ • การใช้ผ้าเช็ดตัวร่วมกันกับผู้ที่ติดเชื้อ ในสตรี อาจเกิด gonococcus vulvitis • แม่ที่ติดเชื้อ GC. อาจติดมายังทารกแรกเกิดขณะคลอดได้ ทำให้ตาอักเสบจากเชื้อหนองใน (Opthalmianeonatorum) ป้องกันโดย หยอดตาด้วย ซิลเวอร์ไนเตรด 1%
อาการและอาการแสดงของโรคหนองในอาการและอาการแสดงของโรคหนองใน - ปัสสาวะลำบาก แสบขัด ในผู้หญิง อาจทำให้มีการอักเสบอุ้งเชิงกราน (pelvic inflammatory disease, PID)
Neisseria menigitidis ทำให้เกิดโรค Meningococcal meningitis (ไข้กาฬหลังแอ่น)
Neisseria meningitidis gram negative dipplococci bacteria
Epidemiology -ค้นพบครั้งแรก พ.ศ.2430 -ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 พบการระบาดมาก บริเวณ Sub-Sahara -ประเทศพัฒนาแล้วพบการระบาดมากขึ้นเรื่อยๆ -โรคติดต่อที่อันตรายมาก
Areas with frequent epidemics of meningococcal meningitis stretch in a band across Central Africa. Countries included in this band are (from west to east):
Host -มนุษย์เท่านั้น - การติดต่อ Droplet respiratory secretions - Colonization ที่ Nasopharynx - เชื้ออยู่ได้หลายเดือน -การติดเชื้อ การอยู่ในบ้านหรือชุมชนแออัดที่เดียวกับผู้ติดเชื้อ
Agent Neisseria meningitidis • -เป็นแบคทีเรีย แกรมลบ รูปร่างกลม คล้ายเม็ดถั่ว เรียงตัวเป็นคู่ dipplococci, non-motile, ไม่สร้างสปอร์ • เชื้อสายพันธ์ก่อโรคจะมี capsule และ pilli ช่วยเกาะเซลล์ • พบเชื้ออยู่ตามเยื่อบุโพรงจมูกและลำคอ
การเจริญของเชื้อ - เชื้อเจริญได้ดีบน Blood agar, Mueller Hinton agar - ที่นิยม คือ Chocolate agar - เชื้อนี้ตายง่าย อยู่ที่อุณหภูมิห้องได้ไม่เกิน 2-3 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 55 °C เชื้อจะตายใน 5 นาที - ถูกทำลายด้วย 1% phenol เช่น Lysol, Detal
Environment -สุขาภิบาลไม่ดี -ชุมชนแออัด บ้านพักคนงาน -ค่ายทหาร -ค่ายอพยพ -หอพักนักศึกษา
Mode ofTransmission • แพร่จากคนสู่คน • โดยการไอหรือจามผ่านทางละอองฝอย • กลุ่มเสี่ยง: • บุคคลรอบข้างใกล้ชิด • เช่น สามี ภริยา เพื่อนสนิท รวมถึงบุคลากรทางการแพทย์
Mode of Transmission • Droplet nuclei
กระบวนการเกิดโรค เยื่อหุ้มสมองอักเสบและ หนองในช่อง subarachnoid เชื้อ N. meninigitidis เข้าทางจมูก สร้างสารพิษ แทรกเข้า mucosal cell เยื่อหุ้มสมองชั้นใน อวัยวะอื่นๆ เพิ่มจำนวน กระแสเลือด
อาการของโรค 1. โลหิตเป็นพิษ (Meningococcemia) 2. เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningococal Meningitis) - ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่มักไม่แสดงอาการใดๆ - ส่วนหนึ่ง มีเพียงอาการระบบทางเดินหายใจ - หายเองโดยไม่ต้องใช้ยา เป็นพาหะสำคัญในการแพร่โรคต่อไป
การเกิดโรคในอวัยวะอื่นๆการเกิดโรคในอวัยวะอื่นๆ • ข้ออักเสบ • เยื่อบุตาอักเสบเป็นหนอง • ท่อปัสสาวะอักเสบ • เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ • ปอดบวม • เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
ลักษณะทางคลินิก อาการ อาการแสดงที่พบบ่อย • Petechiae, high fever, headaches, vomiting, stiff neck, confusion • อาจพบ conjunctivitis, arthritis, pneumonia, pericarditis • ผู้ป่วยมักตายภายใน 24 - 48 ชั่วโมง