640 likes | 870 Views
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล. หลุมพรางการพัฒนาคุณภาพและแลกเปลี่ยนประสบการณ์. นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร. เป้าหมายของงาน IC. คุ้มครองผู้ป่วย คุ้มครองเจ้าหน้าที่ ส่งเสริมให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ. การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ. 4.3.
E N D
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล หลุมพรางการพัฒนาคุณภาพและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
เป้าหมายของงาน IC • คุ้มครองผู้ป่วย • คุ้มครองเจ้าหน้าที่ • ส่งเสริมให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ 4.3 องค์กรใช้วิธีการที่เหมาะสมในการเฝ้าระวังและติดตามกำกับ เพื่อค้นหาและควบคุม การติดเชื้อ และจัดการกับสถานการณ์ที่มีการระบาดของการติดเชื้อในโรงพยาบาล . ก . การเฝ้าระวังและติดตามกำกับ ใช้สารสนเทศ วางแผน ให้ความรู้ 4 ปรับปรุงระบบ Active ongoing แก้ปัญหาผู้ปวยเฉพาะราย 1 prospective surveillance Monitor of other 2 serious HAI ข . การควบคุมการระบาด ติดตามการใช้ยาต้านจุล 3 ชีพและความไวของเชื่อ บ่งชี้การระบาด ค้นหาและตอบสนองต่อ 1 การติดเชื้อ การอุบัติของเชื้อโรคใหม่ 5 และเชื่อโรคดื้อยา สืบค้นและควบคุม 2 ต่ำที่สุด ข . การจัดการและทรัพยากร ก . การออกแบบระบบ คณะกรรมการ IC 1 Standard Precaution กลยุทธ์เพื่อลดความ Clean/disinfect/sterilization กำกับดูแล 1 Infectious waste เสี่ยงจากการติดเชื้อ กำหนดนโยบาย / าตรการ ความรู้ Hand hygiene วางแผน ประสานงาน การปฏิบัติ ICN 3 2 ติดตามประเมินผล อากาศ , โครงสร้างอาคาร กฎหมาย ควบคุมสิ่งแวดล้อม 2 , น้ำ , น้ำยา ทำลายเชื้อ ครอบคลุม 4 การดำเนินงาน 1 เป้าประสงค์ OR, LR, ICU, ซักฟอก , ป้องกันและควบคุมการ ป้องกันและควบคุม ประสาน 3 บริบท จ่ายกลาง , ครัว , วัตถุประสงค์ ติดเชื้อในพื้นที่เสี่ยง กับระบบ กายภาพบำบัด , เก็บศพ กลยุทธ์ 5 ขนาด บริการ ผู้ป่วย คุณภาพ มาตรการ ทรัพยากรเพียงพอ 3 SSI, VAP, CAUTI, IV ป้องกันการติดเชื้อสำคัญ 4 infection, BSI, Sepsis ระบบสารสนเทศ ประสานสู่ 2 4 สนับสนุน ผู้ป่วยที่ติดเชื้อทางเลือด , การปฏิบัติ 6 การดูแลผู้ป่วย การติดเชื้อสำคัญ ภูมิต้านทานต้ำ , เชื้อดื้อ 5 ทั้งองค์กร ที่มีความซับซ้อน ยา , การติดเชื้อุบัติใหม่ ฝึกอบรมบุคลากร จุดเน้นในการป้องกัน 5 เสริมพลังชุมชน 6 4.2 องค์กรสร้างความมั่นใจว่ามีการปฏิบัติ 4.1 ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อขององค์กร ที่หมาะสมเพื่อการป้องกันการติดเชื้อ ได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสม , ได้รับการสนับสนุน ในโรงพยาบาล . ทรัพยากรเพียงพอ , และมีการประสานงานที่ดี . • ผู้ป่วย • สิ่งแวดล้อม • บุคลากร
ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อขององค์กร ได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสม, ได้รับการสนับสนุนทรัพยากรเพียงพอ, และมีการประสานงานที่ดี ข. การจัดการและทรัพยากร ก. การออกแบบระบบ 1 คณะกรรมการ IC กำกับดูแล กำหนดนโยบาย/าตรการ วางแผน ประสานงาน ติดตามประเมินผล ความรู้ การปฏิบัติ กฎหมาย 3 ICN 2 ครอบคลุม 4 การติดเชื้อ ต่ำที่สุด การดำเนินงาน ป้องกันและควบคุม 1 เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ มาตรการ ประสานกับระบบคุณภาพ บริบท ขนาด บริการ ผู้ป่วย 5 • ผู้ป่วย • สิ่งแวดล้อม • บุคลากร ทรัพยากรเพียงพอ 3 ระบบสารสนเทศสนับสนุน ประสานสู่การปฏิบัติทั้งองค์กร 2 4 6 การติดเชื้อสำคัญจุดเน้นในการป้องกัน ฝึกอบรมบุคลากร 5 เสริมพลังชุมชน 6
ปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อ องค์กรสร้างความมั่นใจว่ามีการปฏิบัติที่เหมาะสมเพื่อการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล ติดตามประเมินผล Standard Precaution Clean/disinfect/sterilization Infectious waste Hand hygiene กลยุทธ์เพื่อลดความเสี่ยงจากการติดเชื้อ 1 ออกแบบระบบ อากาศ, โครงสร้างอาคาร, น้ำ, น้ำยาทำลายเชื้อ ควบคุมสิ่งแวดล้อม 2 ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในพื้นที่เสี่ยง OR, LR, ICU, ซักฟอก, จ่ายกลาง, ครัว, กายภาพบำบัด, เก็บศพ การติดเชื้อ ต่ำที่สุด จัดการ 3 • ผู้ป่วย • สิ่งแวดล้อม • บุคลากร SSI, VAP, CAUTI, IV infection, BSI, Sepsis ป้องกันการติดเชื้อสำคัญ 4 ผู้ป่วยที่ติดเชื้อทางเลือด, ภูมิต้านทานต้ำ, เชื้อดื้อยา, การติดเชื้อุบัติใหม่ การดูแลผู้ป่วย ที่มีความซับซ้อน 5 ทรัพยากรสนับสนุน
การเฝ้าระวัง ติดตามกำกับ และควบคุมการระบาด องค์กรใช้วิธีการที่เหมาะสมในการเฝ้าระวังและติดตามกำกับ เพื่อค้นหาและควบคุมการติดเชื้อ และจัดการกับสถานการณ์ที่มีการระบาดของการติดเชื้อในโรงพยาบาล ออกแบบระบบ การจัดการ และทรัพยากร การป้องกันการติดเชื้อ ก. การเฝ้าระวังและติดตามกำกับ ใช้สารสนเทศ วางแผน ให้ความรู้ ปรับปรุงระบบ แก้ปัญหาผู้ปวยเฉพาะราย 4 การติดเชื้อ ต่ำที่สุด Active ongoing prospective surveillance 1 • ผู้ป่วย • สิ่งแวดล้อม • บุคลากร Monitor of other serious HAI 2 ข. การควบคุมการระบาด ติดตามการใช้ยาต้านจุลชีพและความไวของเชื่อ 3 บ่งชี้การระบาด 1 ค้นหาและตอบสนองต่อการอุบัติของเชื้อโรคใหม่และเชื่อโรคดื้อยา 5 2 สืบค้นและควบคุม
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ การเฝ้าระวัง ติดตามกำกับ และควบคุมการระบาด องค์กรใช้วิธีการที่เหมาะสมในการเฝ้าระวังและติดตามกำกับ เพื่อค้นหาและควบคุมการติดเชื้อ และจัดการกับสถานการณ์ที่มีการระบาดของการติดเชื้อในโรงพยาบาล. การติดเชื้อ ต่ำสุด ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ ปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อ ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อขององค์กร ได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสม, ได้รับการสนับสนุนทรัพยากรเพียงพอ, และมีการประสานงานที่ดี. องค์กรสร้างความมั่นใจว่ามีกระบวนการและทรัพยากรที่เหมาะสมสำหรับการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล.
Infection control Structure Process Outcome • Surveillance • Isolation Precautions • Disinfection & Sterilization • Patient care practices • Employee Health • Training & Education • Environmental Control • ICC • ICN • IC policy & • procedure • NI rate • - Patient • - Hospital • personnel
กิจกรรมสำคัญในงานควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลEssential components of Infection Control program 1. การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล 2. การแยกผู้ป่วย (Isolation precautions) 3. การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ (Disinfection & sterilization) 4. การดูแลสุขภาพบุคลากร (Employee Health ) 5. การดูแลผู้ป่วย (Patient Care)
กิจกรรมสำคัญในงานควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลEssential components of Infection Control program 6. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Microbiological Service) 7. การให้ความรู้แก่บุคลากร (Education & training) 8. การควบคุมสิ่งแวดล้อม (Environmental Control) 9. การประสานงานกับหน่วยงานสาธารณสุขในชุมชน(Community coordination) 10.การวิจัย (Research )
Infection control Structure Process Outcome • Surveillance • Isolation Precautions • Disinfection & Sterilization • Patient care practices • Employee Health • Training & Education • Environmental Control • ICC • ICN • IC policy & • procedure • NI rate • - Patient • - Hospital • personnel
คณะกรรมการควบคุมการติดเชื้อฯ ICC 1. ไม่ชัดเจนในบทบาท /เป้าหมายของงาน จึงมีการแต่งตั้งคณะกรรมการตามรูปแบบ 2. คิดว่างาน ICเป็นหน้าที่ของ ICN 3. ขาดการมองภาพรวม
คณะกรรมการควบคุมการติดเชื้อฯ ICC 4. การดำเนินงาน IC ออกแบบระบบเป็นไปตามรูปแบบโดยขาดความเข้าใจที่ชัดเจน ทำให้เกิดกิจกรรมมากมาย และบางครั้งไม่ตอบสนองต่อบริบทของโรงพยาบาล
คณะกรรมการควบคุมการติดเชื้อ ICC 5.การดำเนินงานยังแยกกันไม่ประสานกัน ขาดการประสานเชื่อมโยงข้อมูล/การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระบบงาน IC ทั้งหมดที่จะตอบ Pt Safety
พยาบาลควบคุมการติดเชื้อ ICN - ขาดองค์ความรู้ /ประสบการณ์/ศักยภาพ - ขาดองค์ความรู้ที่ชัดเจนทางด้านระบาด กรณีโรงพยาบาลขนาดใหญ่ และซับซ้อน
ระบบ IC ที่ได้ผล : องค์ประกอบที่จำเป็น • มี ICN เต็มเวลา 1 คนต่อ 250 เตียง • มีแพทย์ซึ่งได้รับการฝึกอบรมและมีประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่อง IC • มีการเฝ้าระวังและป้อนข้อมูลอัตราการติดเชื้อให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ โดยเก็บข้อมูลในจุดที่มีความสำคัญ • ใช้หลักระบาดวิทยา • ให้แพทย์มีส่วนร่วม • เน้นแนวทางปฏิบัติงานที่ให้ผลลัพธ์ดีกว่า • มีคู่มือและการฝึกอบรมที่เพียงพอ
หน้าที่และกิจกรรมของระบบ IC • เฝ้าระวัง (Surveillance) • สุขภาพอนามัยเจ้าหน้าที่ (Employee Health) • ฝึกอบรม (Education) • ให้คำปรึกษา (Consultation) • จัดทำนโยบายและวิธีปฏิบัติ • ดูแลกำกับให้มีการปฏิบัติตามนโยบายวิธีปฏิบัติ (Regulations Guideline Standards) • สอบสวนเมื่อมีการระบาด • พัฒนาคุณภาพ • บริหารจัดการ (Program Management)
Infection control Structure Process Outcome • Surveillance • Isolation Precautions • Disinfection & Sterilization • Patient care practices • Employee Health • Training & Education • Environmental Control • ICC • ICN • IC policy & • procedure • NI rate • - Patient • - Hospital • personnel
การเฝ้าระวังการติดเชื้อ ( Surveillance) • การออกแบบระบบการเฝ้าระวังการติดเชื้อฯ ไม่ครอบคลุม/ไม่เหมาะสมกับสภาพปัญหา • ไม่สามารถบอกเหตุและผลได้ถึงแนวทางการเลือกรูปแบบการเฝ้าระวังที่เหมาะสมกับบริบท/ปัญหาโรงพยาบาล มักทำตามรูปแบบที่ถูกสอนมา
การหาประสิทธิภาพการเฝ้าระวังการติดเชื้อการหาประสิทธิภาพการเฝ้าระวังการติดเชื้อ มักทำตามรูปแบบ แต่ขาดความเข้าใจว่าทำไมต้อหาประสิทธิภาพการเฝ้าระวัง
การเฝ้าระวังการติดเชื้อการเฝ้าระวังการติดเชื้อ • จุดยืนของ พรพ. ส่งเสริมการใช้ targeted surveillance ทดแทนการทำ hospital wide surveillance ไม่จำเป็นต้องทำทั้งสองอย่าง (หากเป็นความประสงค์ของรพ. พรพ.ไม่ขัดข้อง) • การประเมินประสิทธิภาพการเฝ้าระวัง • การเปรียบเทียบอัตราการติดเชื้อที่ได้จากการเฝ้าระวังกับรพ.ลักษณะใกล้เคียงกัน • ประเมินประสิทธิภาพการเฝ้าระวังกับเวชระเบียนผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อแต่ละลักษณะในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง • การเปรียบเทียบอัตราการติดเชื้อที่ได้จาก ICWN กับ ICN เป็นการประเมินประสิทธิภาพการเฝ้าระวังที่เป็นพื้นฐานของความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน เป็นการประเมินศักยภาพของ ICWN เท่านั้น ไม่ใช่ประเมินประสิทธิภาพของระบบ
Pitfall : ระบบเฝ้าระวัง • ไม่ชัดเจนว่าจะให้เฝ้าระวังเหตุการณ์อะไรบ้าง ในกลุ่มผู้ป่วยใดบ้าง เช่น ผู้ป่วยล้างไตแต่ละแบบ • เก็บข้อมูลแต่แปลผล แปลความหมายของข้อมูลได้น้อย ทำให้ไม่สามารถใช้ข้อมูลในการชักนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง • ไม่มีการแบ่งปันข้อมูลในกลุ่มผู้รับผิดชอบหลัก • ใช้ตัวหารที่ไม่ถูกต้อง ทำให้ไม่สามารถเปรียบเทียบได้ • Passive surveillance ทำให้ได้ข้อมูลต่ำกว่าความเป็นจริง Active surveillance โดย ICN ที่ได้รับการฝึกอบรมจะได้ข้อมูลที่ครบถ้วนมากขึ้น
การแยกผู้ป่วย (Isolation precautions) • ห้องแยกมีจำกัด /การจัดการให้มีห้องแยกไม่เหมาะสม • ขาดการวิเคราะห์หาผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการใช้ห้องแยก /หรือต้องการการแยกที่ปลอดภัย • กลุ่มผู้ป่วยที่เป็นปัญหาและมีจำนวนมาก เอดส์ ผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานต่ำ
การแยกผู้ป่วย (Isolation precautions) • วินิจฉัยไม่ชัดเจน ทำให้ไม่ได้แยกผู้ป่วย • การใช้อุปกรณ์ป้องกันไม่เหมาะสม
Pitfall : Isolation Precautions • เข้าใจแนวทางไม่ตรงกัน • ขาดการสื่อสารข้อมูล case ที่ควรเฝ้าระวัง • ขาดการกำกับดูแลเมื่อมี case ที่ควรใช้หลัก IP • การจัดพื้นที่รองรับ
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อ • การล้างทำความสะอาดที่กระจายอยู่ตามหอผู้ป่วย ไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน • ขาดการกำกับดูแล ยกเป็นหน้าที่ของน้องพนักงานผู้ช่วยเหลือผู้ป่วย
การทำลายเชื้อ • บุคลากรที่เกี่ยวข้องไม่ทราบประเภท คุณสมบัติน้ำยาที่ใช้ ทำให้การทำลายเชื้อไม่มีประสิทธิภาพ • การทำลายเชื้ออุปกรณ์ที่เป็นพวก lumen ยังเป็นปัญหาค่อนข้างมาก • หน่วยงาน scope ต่างๆขาดการกำกับจาก ICN
การทำให้ปราศจากเชื้อ • โครงสร้างสถานที่บริเวณ มีปัญหาการแบ่ง zone เช่นบริเวณทำความสะอาด บริเวณห่ออุปกรณ์ บริเวณทำให้ปราศจากเชื้อ และบริเวณเก็บอุปกรณ์ปราศจากเชื้อ • หน่วยที่ทำให้ปราศจากเชื้อมีหบายที่ เช่น OR ทันตกรรม จ่ายกลาง
การทำให้ปราศจากเชื้อ • บุคลากรขาดความรู้ ไม่เข้าใจวิธีการทำให้ปราศจากเชื้อ ไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนการทำให้ปราศจากเชื้อ • การเตรียมอุปกรณ์ที่จะทำให้ปราศจากเชื้อไม่ถูกต้องไม่คำนึงถึงขนาดและปริมาณของอุ ปกรณ์ที่บรรจุในแต่ละห่อที่จะส่ง
การทำให้ปราศจากเชื้อ • การจัดห่ออุปกรณ์เข้าเครื่อง ไม่ถูกต้อง บรรจุของมากเกินไป ทำให้ความร้อนแทรกซึมเข้าไปไม่ทั่วถึง • สถานที่จัดเก็บของที่หนึ่งแล้วไม่ได้มาตรฐาน ขาดการสำรวจติดตาม • การขนย้ายของที่หนึ่งแล้วมีโอกาสปนเปื้อน
การทำให้ปราศจากเชื้อ • การทดสอบประสิทธิภาพของเครื่อง ????
Pitfall : Sterilization • การทำความสะอาดเครื่องมือ • การนำส่งเครื่องมือสะอาด – สกปรก • สถานที่และการติดตามตรวจสอบการจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ สารน้ำ • การบรรจุหีบห่อ การทำ marker เพื่อให้ง่ายต่อการทวนสอบ / ขอคืนอุปกรณ์ • การตรวจสอบประสิทธิภาพของเครื่องมืออุปกรณ์ให้ได้มาตรฐาน • การตรวจสอบเครื่องมือระหว่างการทำให้ปราศจากเชื้อ
Pitfall : การทำความสะอาด/การใช้น้ำยา • ไม่มีอ่างล้างมือ • ไม่มีสบู่ ภาชนะใส่สบู่ ไม่มีการระบายที่ดี • ผ้าเช็ดมือใช้แล้วใช้อีก • ไม่ปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนด • การจัดแบ่งพื้นที่ • การนำส่งของสกปรก • การปนเปื้อนจากการคัดแยกผ้าเปื้อน • เวลาสัมผัสนานไม่สอดคล้องกับ spec ที่กำหนด
การดูแลสุขภาพบุคลากร • ไม่ชัดเจนในเป้าหมายคำว่าการดูแลสุขภาพในมิติของ IC • ขาดการเชื่อมโยงประสานกับระบบคุณภาพอื่น โดยเฉพาะกับ ทีมอาชีวอนามัย ทีมสร้างเสริมสุขภาพ ทีมสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
Pitfall : Employee Health • ขาดระบบจัดเก็บข้อมูลการเจ็บป่วยของเจ้าหน้าที่ว่ามีความสัมพันธ์กับการทำงานหรือไม่ • ขาดการสำรวจพฤติกรรม สภาพแวดล้อม และความเสี่ยงในการทำงานที่อาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ • การติดตามสภาวะสุขภาพหลังประสบภาวะเสี่ยง
การดูแลผู้ป่วย • ผู้ป่วยที่ติดเชื้อทางเลือด • ภูมิต้านทานต่ำ • เชื้อดื้อยา • การติดเชื้ออุบัติใหม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการการตรวจทางห้องปฏิบัติการ • สถานที่ • การทำลายสิ่งส่งตรวจ • ขาดการกำกับดูแลทางด้าน IC
การให้ความรู้แก่บุคลากรการให้ความรู้แก่บุคลากร • ให้ education ที่เป็นรูปแบบ ขาดการวิเคราะห์ความต้องการที่เฉพาะที่เหมาะกับบริบท/กลุ่ม • วิธีการ education เป็นวิธีเดิมๆ • การติดตามประเมินผลไม่ค่อยแหลมคม ไม่สอดคล้องกับปัญหา
การควบคุมสิ่งแวดล้อม • คณะกรรมการ ICC/IN ไม่คำนึงถึงคิดว่าเป็นหน้าที่ของคณะกรรมการ ENV /งานบริหาร • ขาดความชัดเจนในเป้าหมาย( safety ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากสิ่งแวดล้อมสู่ผู้ป่วย เจ้าหน้าที่)
การควบคุมสิ่งแวดล้อม • คณะกรรมการ ICC ไม่ชัดเจนว่าควรดำเนินการอย่างไร - การทำความสะอาดสิ่งแวดล้อม -การระบายอากาศ - การควบคุมอุณหภูมิและความชื้น - แสงสว่าง, น้ำดื่มน้ำใช้ในโรงพยาบาล -การกำจัดแมลงและสัตว์นำโรค
พื้นที่ทำงานที่มีปัญหาด้าน IC ขาดการกำกับดูแล • หน่วยงานซักฟอก/จ่ายกลาง/โรงครัว • หน่วยกายภาพบำบัด • ห้องเก็บศพ • OR /LR / LAB/ทันตกรรม • บริษัททำความสะอาด/บริษัทรับกำจัดขยะ/ซักฟอก
Pitfall : การดูแลพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง • ห้องผ่าตัด • ห้องคลอด • หอผู้ป่วยวิกฤติ • หน่วยซักฟอก • หน่วยจ่ายกลาง • โรงครัว • หน่วยกายภาพบำบัด • ห้องเก็บศพ
ประเด็นสำคัญในพื้นที่เสี่ยงประเด็นสำคัญในพื้นที่เสี่ยง • Flow ของระบบงาน • การจัดสิ่งแวดล้อมให้มีความปลอดภัยต่อการควบคุมการติดเชื้อ • การแบ่ง zoneสะอาดและสกปรก • การทำความสะอาดสถานที่ • การล้างมือที่เหมาะสมสอดคล้องกับกิจกรรม • การจัดการขยะ ขยะติดเชื้อ • การจัดการ/จัดเก็บชุดอุปกรณ์ปลอดเชื้อ
One way traffic • เป้าหมายเพื่อลดโอกาสที่จะเกิดการปนเปื้อนของที่ทำให้สะอาดหรือปราศจากเชื้อแล้ว • มีความจำเป็นมากในหน่วยงานซักฟอกและจ่ายกลาง • สำหรับห้องผ่าตัด one way traffic คือ การนำเครื่องมือที่ใช้แล้วส่งออกไปทำความสะอาดโดยไม่ทำให้สิ่งสะอาดปราศจากเชื้อปนเปื้อน • One way traffic สำหรับผู้ป่วยไม่ใช่ประเด็นสำคัญ
Zoning • เป้าหมาย คือ เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดการปนเปื้อนของที่ทำให้สะอาดหรือปราศจากเชื้อแล้ว เช่น เดียวกับเรื่อง one way traffic • จำเป็นมากสำหรับห้องจ่ายกลาง ซักฟอก และห้องผ่าตัด • Dirty, Clean, Aseptic
ข้อควรพิจารณา • การทำความเข้าใจระบบภาพรวม กับ การตามแก้ pitfall • Zoning กับ พฤติกรรมเจ้าหน้าที่ • การเข้มงวดกับเรื่องความสะอาดของล้อผู้ป่วยกับการดูแลผู้ป่วยที่นอนรอผ่าตัดบนรถเข็น • การสรุปว่าเจ้าหน้าที่ขาดความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติ กับการใช้ข้อมูลให้เป็นประโยชน์ในการออกแบบระบบงานและติดตามกำกับการปฏิบัติงาน
Pitfall : การควบคุมสิ่งแวดล้อม • มีการประเมินความเสี่ยงสิ่งแวดล้อม แต่การนำไปใช้ประโยชน์ ? • การจัดการกับขยะติดเชื้อ / การควบคุมแมลง • การประเมินระบบระบายอากาศ / ความดันอากาศ • การควบคุมฝุ่นละอองระหว่างการก่อสร้าง • การติดตามประสิทธิผลของการกรองอากาศและมาตรการควบคุมฝุ่นละออง • การป้องกันการปนเปื้อนทางอากาศในห้องผ่าตัดเมื่อมีการผ่าตัดผู้ป่วยติดเชื้อวัณโรค