1 / 189

SC82

Biochemistry

nophadonlu
Download Presentation

SC82

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยที่ 2 สารบริสุทธิ์ • บทที่ 1 สมบัติของสารบริสุทธิ์ • จุดเดือดและจุดหลอมเหลว • ความหนาแน่น • บทที่ 2 การจำแนกและองค์ประกอบของสารบริสุทธิ์ • การจำแนกสารบริสุทธิ์ • โครงสร้างอะตอม • การจำแนกธาตุและการใช้ประโยชน์

  2. บทที่ 2 การจำแนกและองค์ประกอบของสารบริสุทธิ์ • การจำแนกสารบริสุทธิ์

  3. สารบริสุทธิ์มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแน่นคงที่ ซึ่งเป็นสมบัติเฉพาะตัวของสารบริสุทธิ์แต่ละชนิดรอบตัวเรามีสารบริสุทธิ์อยู่หลายชนิด นักเรียนคิดว่าสารบริสุทธิ์แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง และมีอะไรเป็นองค์ประกอบ ?

  4. ทบทวนความรู้ก่อนเรียน?ทบทวนความรู้ก่อนเรียน? เขียนเครื่องหมาย / หน้าคำตอบที่เป็นสารบริสุทธิ์ • เกลือแกง • พริกกับเกลือ • แก็สออกซิเจน • น้ำตาล • น้ำ • แก๊สไนโตรเจน • แก๊สไนโตรเจน • น้ำปลา • แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ • อากาศ • น้ำเชื่อม

  5. กิจกรรม 2.4 สารบริสุทธิ์มีองค์ประกอบอะไรบ้าง

  6. ตารางบันทึกผลการทดลองตารางบันทึกผลการทดลอง

  7. การแยกน้ำด้วยไฟฟ้า

  8. ตอบคำถามท้ายกิจกรรม เมื่อต่อสายไฟจากแบตเตอรี่เข้ากับเครื่องแยกน้ำด้วยไฟฟ้าให้ครบวงจร ในหลอดแก้ว จากขั้วบวกและขั้วลบ มีการเปลี่ยนแปลงเหมือนหรือต่างกันอย่างไร 2. เมื่อเปรียบเทียบปริมาณสารที่เกิดขึ้นในหลอดจากขั้วบวกและขั้วลบ มีอัตราส่วน ประมาณเท่าใด 3. เมื่อทดสอบสารในหลอดจากขั้วบวกและขั้วลบโดยใช้ธูปที่ลุกเป็นเปลวไฟ และธูป ที่เป็นถ่านแดง สังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร 4. สารในหลอดจากขั้วบวกและขั้วลบเป็นสารชนิดเดียวกันหรือไม่ ทราบได้อย่างไร 5. น้ำเป็นสารบริสุทธิ์หรือสารผสม ทราบได้อย่างไร 6. จากกกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร

  9. ปฎิกิริยาทางไฟฟ้าเคมีของการแยกน้ำด้วยไฟฟ้าปฎิกิริยาทางไฟฟ้าเคมีของการแยกน้ำด้วยไฟฟ้า ไม่ว่าจะใช้เทคโนโลยีใดๆ จะมีปฎิกิริยาของอิเลคโตรไลซีสเหมือนกัน ดังนี้                 2H2O → O2 + 2H2 อย่างไรก็ตาม ปฎิกิริยาที่ขั้วอิเลคโตรดของแบบโพลีเมอร์ของแข็งจะแตกต่างจากแบบแอลคาไลน์ ดังนี้- ระบบโพลีเมอร์ของแข็ง จะมีปฎิกิริยาที่ขั้วอิเลคโตรดเป็น ดังนี้ ด้านแคโทด                                  4 H+ + 4e-→ 2H2 ด้านแอโนด                                  2H2O → O2 + 4 H+ + 4e-

  10. อนุภาคออกซิเจน แก๊สไฮโดรเจน แก๊สออกซิเจน อนุภาคไฮโดรเจน น้ำมีองค์ประกอบเป็นอนุภาค 2 ชนิดแตกต่างกัน เมื่อแยกน้ำด้วยไฟฟ้าจะทำให้ อนุภาคไฮโดรเจนและออกซิเจนแยกออกจากกัน และรวมกันเป็น แก๊สไฮโดรเจนและแก๊สออกซิเจน

  11. สารบริสุทธิ์ คือสารเนื้อเดียวที่มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวคงที่ มีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว ไม่สามารถใช้วิธีทางกายภาพแยกองค์ประกอบของสารบริสุทธิ์ได้ ธาตุ (element) คือสารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดียวได้แก่ ธาตุทุกตัวในตาราง เช่น H , C , N สารประกอบ (Compoud) คือ สารบริสุทธิ์ที่เกิดจากธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปรวมตัวกันทางเคมี โดยมี อัตราส่วนในการรวมกันคงที่แน่นอน เช่น , HCL

  12. ธาตุและสารประกอบ

  13. อะตอมและโมเลกุล อะตอม คือ เป็นอนุภาคหรือสิ่งที่เล็กที่สุดของธาตุเช่นธาตุออกซิเจนมีอะตอมของออกซิเจนเป็นอนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุ โมเลกุล คือเกิดจากการรวมตัวกันของอะตอมตั้งแต่ 2 อะตอมขึ้นไป เช่นโมเลกุลของน้ำ (ประกอบด้วยอะตอมของธาตุไฮโดรเจนและออกซิเจน)

  14. ธาตุและสารประกอบ ธาตุที่อยู่ในรูปของโมเลกุลเรียกว่า โมเลกุลของธาตุ แต่ถ้าเป็นสารประกอบจะต้องอยู่ในรูปโมเลกุลอยู่แล้วเรียกว่าโมเลกุลของสารประกอบ

  15. ข้อแตกต่างระหว่างธาตุและสารประกอบข้อแตกต่างระหว่างธาตุและสารประกอบ

  16. สัญลักษณ์ธาตุและสูตรเคมีสัญลักษณ์ธาตุและสูตรเคมี

  17. การเรียกชื่อธาตุ จอห์น ดอลตัน (John Dalton)(1766-1844)นักเคมีชาวอังกฤษ เป็นคนแรกที่เสนอให้ใช้ สัญลักษณ์ธาตุ

  18. การเรียกชื่อธาตุ พ.ศ. 2361 นักเคมีชาวสวีเดนชื่อ จาคอบ เบอร์ซีเลียส (JacobBerZlius) เสนอให้ใช้ ตัวอักษรแทนชื่อธาตุ

  19. การเขียนสัญลักษณ์ของธาตุมีหลักการดังนี้การเขียนสัญลักษณ์ของธาตุมีหลักการดังนี้ 1.ถ้าธาตุมีชื่อในภาษาละตินให้ใช้อักษรตัวแรกเป็นสัญลักษณ์ โดยเขียนเป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่เช่น โซเดียม (Sodium) มีชื่อในภาษาละตินNatriumจึงใช้สัญลักษณ์คือ Na 2. ถ้าธาตุนั้นไม่มีชื่อในภาษาละตินให้ใช้อักษร ตัวแรกของชื่อในภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่เป็นสัญลักษณ์ เช่น H แทนไฮโดรเจน 3. กรณีภาษาละตินและภาษาอังกฤษมีอักษรตัวแรกเหมือนกันให้ใช้ตัวถัดไปเพิ่มเข้าไปอีกตัวหนึ่งด้วยตัวพิมพ์เล็ก

  20. การเขียนสัญลักษณ์ธาตุการเขียนสัญลักษณ์ธาตุ

  21. การเขียนสัญลักษณ์ธาตุการเขียนสัญลักษณ์ธาตุ

  22. กระตุ้นความคิด? อาร์กอน Argon โคบอลต์ Cobalt และนีออน Neon ควรมีสัญลักษณ์ธาตุเป็นอย่างไร

  23. กระตุ้นความคิด? อาร์กอน Ar โคบอลต์ Co และนีออน Ne

  24. สูตรเคมี สูตรเคมีคือกลุ่มของสัญลักษณ์ของธาตุที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงจำนวนอะตอมของธาตุที่เป็นองค์ประกอบของสาร สูตรเคมีที่แสดงชนิดของธาตุและจำนวนอะตอมที่เป็นองค์ประกอบใน 1 โมเลกุลเรียกว่า สูตรโมเลกุล ดังตัวอย่างสูตรโมเลกุลของสารประกอบดังนี้

  25. น้ำ ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจนและออกซิเจน ในอัตราส่วนคงที่ 2:1สูตรเคมีH2O

  26. สูตรเคมีของธาตุและสารประกอบสูตรเคมีของธาตุและสารประกอบ

  27. สูตรเคมีของธาตุและสารประกอบสูตรเคมีของธาตุและสารประกอบ

  28. กระตุ้นความคิด? สารประกอบชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยอะตอมของกำมะถันและออกซิเจน ในอัตราส่วน 1:2 สูตรเคมีของสารนี้เขียนได้อย่างไร SO2 สารประกอบแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หรือ CO2 มีอะตอมของธาตุใดเป็นองค์ประกอบบ้าง และมีอัตราส่วนของอะตอมแต่ละชนิดเท่าใด คาร์บอน 1 อะตอม และออกซิเจน 2 อะตอม

  29. การเกิดสารประกอบ การเกิดสารประกอบ สารประกอบเกิดจากการสร้างพันธะเคมีของอะตอมต่างชิดกันเกิดเป็นโมเลกุลของสารประกอบดังนี้

  30. สูตรเคมี

  31. สูตรเคมี

  32. สูตรเคมี

More Related