180 likes | 253 Views
สถานภาพปัจจุบันของคณะเกษตรศาสตร์ ภายใต้เงื่อนไขการปรับเปลี่ยนองค์การ. สรุปผลการสัมนากรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่และผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 กรกฎาคม 2546 , ประจวบคีรีขันธ์.
E N D
สถานภาพปัจจุบันของคณะเกษตรศาสตร์สถานภาพปัจจุบันของคณะเกษตรศาสตร์ ภายใต้เงื่อนไขการปรับเปลี่ยนองค์การ
สรุปผลการสัมนากรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่และผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 กรกฎาคม 2546 , ประจวบคีรีขันธ์ 1. มหาวิทยาลัยควรจะเน้นจุดยืน ว่าจะอยู่ตรงจุดใดในท่ามกลางสภาวการณ์เปลี่ยนแปลงของโลกที่มีทั้งแรงผลักดันจากพลังของการตลาดในการหารายได้(market driven) และพลังของสังคม(social concern)
สรุปผลการสัมนากรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่และผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 กรกฎาคม 2546 , ประจวบคีรีขันธ์ 2. ระบบการจัดสรรงบประมาณของรัฐจะเปลี่ยนไป รัฐจะจัดสรรงบประมาณสำหรับใช้ในการลงทุนและการพัฒนาไว้ที่ส่วนกลาง อีกส่วนหนึ่งจัดสรรให้องค์กรท้องถิ่น ดังนั้นมหาวิทยาลัยจะต้องมีความสามารถในการแข่งขันเพื่อดึงงบประมาณส่วนกลางมาใช้ในการบริหารมหาวิทยาลัย
สรุปผลการสัมนากรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่และผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 กรกฎาคม 2546 , ประจวบคีรีขันธ์ 3. มีการเปลี่ยนแปลงดุลย์ทางอำนาจเศรษฐกิจโดยประเทศในภูมิภาคนี้พยายามรวมกลุ่มกันเพื่อสร้างอำนาจต่อรอง จังหวัดเชียงใหม่ถูกกำหนดเป้าหมายให้เป็นศูนย์กลางการขนส่งกับประเทศเพื่อนบ้าน
สรุปผลการสัมนากรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่และผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 กรกฎาคม 2546 , ประจวบคีรีขันธ์ 4. ในการพัฒนาและกำหนดเป้าหมายและพันธกิจของมหาวิทยาลัย ควรสนใจความเคลื่อนไหวและทิศทางการพัฒนาของโลกด้วย
สรุปผลการสัมนากรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่และผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 กรกฎาคม 2546 , ประจวบคีรีขันธ์ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงโครงสร้างองค์กร 1. ลดขนาดขององค์กร ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 2. ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยการกระจายอำนาจ 3. สามารถปรับเปลี่ยนได้ง่าย เพื่อสอดคล้องกับพันธกิจ 4. ตรวจสอบและประเมินผลได้ มีกลไกในการตรวจสอบและประเมินผล 5. มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
สรุปผลการสัมนากรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่และผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 กรกฎาคม 2546 , ประจวบคีรีขันธ์ โครงการของคณะ ภาควิชา และสาขาวิชาที่เสนอมายังคงเป็นรูปแบบเดิม ซึ่งไม่เหมาะสมกับสภาวะการณ์ในปัจจุบัน จึงขอให้ผู้บริหารมหาวิทยาลัยไปพิจารณาการรวม ยุบ เลิก คณะหรือภาควิชาเพื่อความเป็นเลิศในทางวิชาการ
ระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้องจากมหาวิทยาลัยระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้องจากมหาวิทยาลัย 1. เรื่อง ภาระงานของภาควิชาและหัวหน้าภาควิชาที่พึงประสงค์ และแนวทางการบริหารจัดการในภาควิชาและคณะ (14 ตุลาคม 2545) - ภาควิชามีหน้าที่ดูแลงานการเรียนการสอน พัฒนาหลักสูตร ผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการ และพัฒนาอาจารย์ - ภาควิชาควรมีบุคลากรสายวิชาการ ประมาณ 25 คน ควรหลอมรวมภาควิชาที่มีอาจารย์น้อยเข้าด้วยกันเพื่อประสิทธิภาพการบริหารงาน ควรดำเนินการให้เสร็จภายใน 1 ปี (ภายใน 13 ตุลาคม 2546) - คณะรับผิดชอบงานด้านธุรการ และงานสนับสนุนอื่นๆ แทนภาควิชา
ระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้องจากมหาวิทยาลัยระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้องจากมหาวิทยาลัย 2. เรื่อง การหลอมรวมภาควิชาตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย (1 มกราคม 2546 ) 1. ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ 2. เปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็น 3. ในเบื้องต้นทดลองรวมงานธุรการของคณะและภาควิชาไว้ที่ส่วนกลาง โดยระยะแรกให้คงธุรการและนักการบางส่วนที่ภาควิชาก่อน เพื่ออำนวยความสะดวกด้านการส่งหนังสือหรือติดต่อระหว่าภาควิชากับคณะ ( ดำเนินการภายใน 6 เดือน, 13 เมษายน 2546 )
ระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้องจากมหาวิทยาลัยระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้องจากมหาวิทยาลัย 3. การกำหนดความจำเป็นให้มีตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ชำนาญการพิเศษในหน่วยงาน พิจารณาจาก 1. ภารกิจหลักของหน่วยงาน 2. หน้าที่ความรับผิดชอบ และลักษณะงานของตำแหน่ง ที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของ ก.ม.
ความคาดหวังของมหาวิทยาลัยจากกิจกรรมหลอมรวมภาควิชาความคาดหวังของมหาวิทยาลัยจากกิจกรรมหลอมรวมภาควิชา 1. ความเป็นเลิศทางวิชาการ 2. แก้ปัญหาการขาดแคลนผู้บริหารระดับภาควิชา 3. ลดขั้นตอนการบริหารจัดการ 4. ความประหยัด และใช้ทรัพยากรคุ้มค่า 5. ลดความเป็นอาณาจักร เพิ่มความยืดหยุ่นในการดำเนินภารกิจเชิงบูรณาการให้สอดรับนโยบายรัฐบาล
งบประมาณ : เครื่องมือหลักของรัฐบาล - Block grant - จัดงบประมาณให้ตามกิจกรรมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์รัฐบาล - Performance based budgeting บนฐาน KQI, SAR และ จำนวนบัณฑิต - Activity based budgeting บนฐานกิจกรรมเชิงบูรณาการ, เครือข่ายร่วมวิจัยระหว่างสถาบัน (CRN), FTES, SCCH - ระบบการตรวจสอบที่เป็นมาตรฐานสากล (ระบบบัญชี 3 มิติ, การบริหารสินทรัพย์)
ยุทธศาสตร์และวงเงินงบประมาณแผ่นดิน พ.ศ. 2547 1. ยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ 2. ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ 3. ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาความยากจนและระดับคุณภาพชีวิต 4. ยุทธศาสตร์ความมั่นคงของชาติ การต่างประเทศ และการอำนวยความยุติธรรม 5. ยุทธศาสตร์การจัดการบริหารประเทศ งบประมาณ 1,028,000.00 ล้านบาท คณะเกษตรศาสตร์ จะได้งบประมาณจากส่วนไหน???
คณะเกษตรศาสตร์ต้องทำอย่างไร???คณะเกษตรศาสตร์ต้องทำอย่างไร??? 1.จัดการตัวเองให้พร้อม โดยปฏิรูประบบการบริหารการจัดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีคุณภาพ ประหยัด สามารถดำเนินการเชิงรุกให้สอดคล้องกระแสการเปลี่ยนแปลงของอุดมศึกษาไทย - อุดมศึกษาโลก และสอดคล้องกับการมีส่วนร่วมพัฒนาท้องถิ่นของประเทศ 2. จัดทำระบบประกันคุณภาพทางวิชาการ 3. เพิ่มขีดความสามารถของผู้บริหารระดับสูงให้มีความเป็นมืออาชีพ
คณะเกษตรศาสตร์วางแนวทางหลอมรวมอย่างไร???คณะเกษตรศาสตร์วางแนวทางหลอมรวมอย่างไร??? 1. มุ่งสู่การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันขององค์กรมากกว่าการหลอมรวมภาควิชาที่มีธรรมชาติคล้ายกัน 2. บนพื้นฐานการมีส่วนร่วมแสดงความเห็นของบุคลากรทุกระดับ 3. ไม่มีแนวความคิดคัดคนออก แต่อาจปรับย้ายให้ตรงกับ ความถนัด 4. เริ่มดำเนินการในส่วน SAR และ KQI ระดับภาควิชาหน่วยงาน
คณะเกษตรศาสตร์วางแนวทางหลอมรวมอย่างไร???คณะเกษตรศาสตร์วางแนวทางหลอมรวมอย่างไร??? 5. จัดตั้งคณะทำงาน - เสนอแนะทางเลือก 3 ทาง แก่กรรมการประจำคณะ - ประชาพิจารณ์ทางเลือกที่ได้คัดเลือกโดยกรรมการประจำคณะ - สรุปรูปแบบเสนอต่อมหาวิทยาลัย ( เดือน สิงหาคม 2546 ) 6. การหลอมรวมธุรการ ( สาย ค และลูกจ้างสายงานที่เกี่ยวข้อง) ใน เดือนเมษายน 2546
คณะเกษตรศาสตร์ คาดหวังอะไรจากการหลอมรวม 1. ความเป็นเลิศทางวิชาการ เป็นที่ยอมรับของชุมชนและ ผู้ประกอบการ 2. คุณภาพบัณฑิตที่มีศักยภาพการแข่งขันสูง 3. ความยืดหยุ่นในการจัดหลักสูตรเชิงสหสาขาวิชา และนานาชาติ 4. การสร้างรายได้จากองค์ความรู้ และนวัตกรรม 5. ความสามัคคีและความอยู่ดีมีสุขของบุคลากร