1 / 38

สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต

สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต. สารเพิ่มเติมในอาหาร. 2. สารเพิ่มเติมในอาหาร (feed additive). สารชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือหลายชนิดรวมกันนำมาผสมกับอาหารสัตว์เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะอย่างในการเลี้ยงสัตว์.  สัตว์ยอมกินอาหาร / กินอาหารได้มากขึ้น  สัตว์สามารถย่อยอาหารนั้นได้สูงขึ้น

nixie
Download Presentation

สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิตสารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต สารเพิ่มเติมในอาหาร

  2. 2. สารเพิ่มเติมในอาหาร (feed additive) สารชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือหลายชนิดรวมกันนำมาผสมกับอาหารสัตว์เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะอย่างในการเลี้ยงสัตว์

  3. สัตว์ยอมกินอาหาร / กินอาหารได้มากขึ้น สัตว์สามารถย่อยอาหารนั้นได้สูงขึ้น  ถนอมคุณภาพอาหารสัตว์  ป้องกันโรค  อาหารไม่เกิดการสูญเสียมาก  สัตว์สามารถดูดซึมธาตุอาหารได้มากขึ้น  สัตวสามารถนำอาหารที่ถูกดูดซึมไปใช้ประโยชน์ ยังเซลล์ต่าง ๆ ของร่างกายได้ดีขึ้น

  4. สารปฎิชีวนะ(antibiotics) • Neomycin, Chlortetracycline • Erythromycin • Chemotherapeutic compound • Chemoantibactirial • Arsanilic acid (Sodium arsanilate) • 3 - nitro - 4 - hydroxy arsonic acid , • Sulfa compound

  5. Chemobiotic dynafac, hygromycin • ยาถ่ายพยาธิ (anthelmintics) Thiabendazold

  6. สารปรับ pH ในทางเดินอาหาร (pH regulator) Acidifier : กรดอินทรีย์ Buffer: ปรับpH ในกระเพาะรูเมนสัตว์เคี้ยวเอื้อง sodium bicarbonate sodium bentonite magnesium oxideหินปูนบด

  7. ทำไมต้องใช้กรดอินทรีย์ทำไมต้องใช้กรดอินทรีย์ • การย่อยอาหาร • สภาพความเป็นกรดในกระเพาะ (pH 1.7 - 1.8) • จำเป็นต่อการกระตุ้นการทำงานของ enzyme ที่ย่อย โปรตีน • parietal cell HCl • อาหารจะรวมกับกรดในกระเพาะ โดย H+ จับกับส่วน acid binding receptors ของอาหารเพื่อปรับสภาพของ อาหาร ให้เหมาะแก่การย่อย

  8. ลูกสัตว์ก่อนหย่านม - ปรับ pH ในกระเพาะอาหารให้เป็นกรดโดยน้ำตาลแลคโตสในน้ำนม กรดแลคติก pH ในกระเพาะอาหาร 3-4

  9. ลูกสุกรหลังหย่านม - ขาดแลคโตส - ระบบทางเดินอาหารยังไม่ปรับสภาพรับอาหารใหม่ - การสร้างกรดเกลือยังไม่พัฒนา enzyme pepsin, trypsin, sucrase

  10. เสริมกรดลงไปเพื่อให้กรดแตกตัวเกาะกับreceptors ของอาหารเหลือกรดเกลือเพียงพอไปกระตุ้นการ • ทำงานของ enzyme

  11. บทบาทของกรดอินทรีย์ในอาหารสัตว์บทบาทของกรดอินทรีย์ในอาหารสัตว์ • ช่วยเสริมกรดที่มีไม่เพียงพอในกระเพาะโดยเฉพาะลูกสัตว์หลังหย่านม • ลดระดับ pH ในกระเพาะ (pH ประมาณ 2) pepsinogen pepsin • pH ต่ำยับยั้งการ growth ของจุลินทรีย์ที่ให้โทษ เร่งการ growth ของจุลินทรีย์ที่สร้างกรดแลกติก

  12. เป็น chelating agent เพิ่มการดูดซึมของแร่ธาตุ • เป็นตัวกลางในวิถีสร้างพลังงาน Fumaric acid , citric acid propionic acid , lactic acid Acidifier สุกร Formic acid , citric acid orthophosphoric

  13. Buffer ปรับpH ในกระเพาะรูเมนสัตว์เคี้ยวเอื้อง sodium bicarbonate sodium bentonite magnesium oxide หินปูนบด

  14. สารป้องกันการ Bloat Poloxaline • surfactant เป็นพวก surface - active agents เพื่อให้เม็ดอาหารกระจายตัวดี เพื่อน้ำย่อยย่อยได้ดีขึ้น เลซิติน (lecithin) ทำให้ไขมันในอาหารกระจายตัวได้ดีขึ้น • สารเพิ่มรส (feed flavor) Monosodium glutamate , nucleotide กรดแอมิโนบางชนิด

  15. สารเพิ่มสีในไข่ไก่ • สารสกัดจากธรรมชาติ • carotenoid • xanthophyll • สารเคมีสังเคราะห์ • carophyll yellow • carophyll Red • carophyll pink ใบกระถิน ดอกดาวเรือง

  16. สารต้านพิษต่าง ๆZeolite Mycotoxin binder เช่น alfatoxin binder - aluminum silicate - sodium bentonite

  17. Enzyme  ย่อยพันธะเฉพาะ (specific bonds) ในวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่น้ำย่อยในร่างกายไ ม่สามารถย่อยได้ เพิ่มการใช้ประโยชน์ได้ของโภชนะต่างๆที่สัตว์ไม่ สามารถย่อยได้ Tannins ในข้าวฟ่าง เรปซีด phenolic acid, glucosinolate ในเรปซีด

  18. Enzyme ลักษณะของ enzyme 1. สร้างขึ้นจากสิ่งมีชีวิติ เช่น จุลินทรีย์ และสัตว์ 2. เป็นตัวกระตุ้น (catalyst)การเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยไม่เสียสภาพ กลับคืนมาทำงานใหม่ได้ 3. มีความจำเพาะสูงต่อ substrate

  19. จุดประสงค์ในการใช้ Enzyme ในอาหารสัตว์  ย่อยพันธะเฉพาะ (specific bonds) ในวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่น้ำย่อยในร่างกายไ ม่สามารถย่อยได้ เพิ่มการใช้ประโยชน์ได้ของโภชนะต่าง ๆ ที่สัตว์ไม่ สามารถย่อยได้

  20. ย่อยสลายสารยับยั้งการใช้ประโยชน์ของอาหาร เช่น Tanninsในข้าวฟ่าง เรปซีด phenolic acid, glucosinolate ในเรปซีด trypsin inhibitor ในถั่วเหลือง b-glucan, arabinose xylans ในข้าวบาร์เล่ย์, ข้าวสาลี

  21. : monensin Streptomyces cinnamonensis สัดส่วนของ propionic acid เพิ่มขึ้น ปรับปรุงการใช้พลังงานให้มีประสิทธิภาพ น้ำหนักตัว Feed efficiency

  22. : phosphatase, phytase ย่อย phytate, phytic acid : เพนโตซาเนส ย่อยเพนโตแซน อาหารลูกสุกรเล็ก (starter)

  23. :protease, cellulase : hemi-cellulase, glucanase : Multienzyme system Porzyme, Allzyme

  24. ลักษณะของEnzyme ที่ดี 1. มีความคงสภาพ ไม่เสื่อมเมื่อเก็บไว้นาน 2. คงทนในสภาพอุณหภูมิสูง เช่นในกระบวนการอัดเม็ด (70. - 80.C) 3. คงทนต่อน้ำย่อยในระบบทางเดินอาหาร เช่น trypsin 4. สามารถทำงานได้ปกติในสภาพ pH ของระบบทางเดินอาหาร 5. สามารถรวมเข้ากันได้ดีกับแร่ธาตุ วิตามิน & สารอาหารที่มีปริมาณน้อย

  25. โบรไบโอติค (probiotics) • เป็นการนำจุลินทรีย์ ซึ่งมีชีวิตที่เป็นประโยชน์ต่อตัวสัตว์เติมลงในอาหารสัตว์เพื่อ -: • : สร้างสารที่ต่อต้านจุลินทรีย์ที่เป็นโทษต่อสัตว์ • : ชะงักการเพิ่มจำนวนของเชื้อโรคโดยการ แย่งพื้นที่หรือแย่งสารอาหาร • : ผลิต Enzyme ย่อยอาหาร : กระตุ้นภูมิต้านทาน : สลายพิษของเชื้อโรค หรือสารต้านโภชนะตัวอื่นๆ

  26. กลไกการทำงานของโปรไบโอติกกลไกการทำงานของโปรไบโอติก * ช่วยสังเคราะห์วิตามินและสารอาหารที่จำเป็น Bacillus B. cereus , B. subtilis สังเคราะห์ vitamin B

  27. * สร้างกรดแลคติค ความเป็นกรดในทางเดินอาหาร ยับยั้ง E. coli * สร้าง metabolite ที่มีผลยับยั้งปฏิกิริยาการสร้างสารพิษ สารที่ก่อให้เกิดมะเร็ง * กระตุ้นการทำงานของ Enzyme ในปฏิกิริยากำจัดสารพิษ

  28. * กระตุ้นการสร้าง & การทำงานของ Enzyme ใน GI Lactobacillus sp amylase Bacillus Clostridium amylase, protease

  29. * สร้างสารปฏิชีวนะที่มีผลยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ที่ก่อให้เกิดโรคใน GI L. acidophilus * รักษาสมดุลของ floraใน GI ยับยั้งการ growth ของจุลินทรีย์ที่ให้โทษ เช่น E.Coli เร่ง growth ของจุลินทรีย์ที่ให้ประโยชน์ เช่น Lactobacilli acidolin

  30. * ลดปริมาณแอมโมเนีย B. cereus ลด NH3ในอุจจาระ * เพิ่มปริมาณ VFA เช่น propionic acid ปรับ pH ให้เหมาะสมกับการทำงานของ gastric juice B. cereus * ยับยั้งการสร้าง amine จากจุลินทรีย์ในทางเดินอาหาร แบคทีเรีย พวก Bifidobacteria

  31. คุณสมบัติของจุลินทรีย์ที่ใช้เป็นโบรไบโอติคคุณสมบัติของจุลินทรีย์ที่ใช้เป็นโบรไบโอติค 1. เป็นจุลินทรีย์ที่มีความปลอดภัย species Lactobacillus, Bifidobacterium Streptococcus 2. ทนทานเมื่อผ่านกระบวนการผลิตอาหาร ความร้อน ความชื้น 3. ทนต่อสภาพภายในทางเดินอาหาร เอนไซม์ในทางเดินอาหาร amylase, lysozyme น้ำดี ความเป็นกรด

  32. 4. มีฤทธิ์ต่อต้านจุลินทรีย์ชนิดอื่น ๆ โดยการสร้างกรด หรือ สารต่อต้าน 5. เป็นจุลินทรีย์ที่เจริญกันเป็นกลุ่มบนผนังทางเดินอาหาร ทำให้ขัดขวางการเจริญของจุลินทรีย์ที่เป็นโทษ 6. มีวงชีวิตสั้น ขยายจำนวนได้รวดเร็ว 7. เป็นจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์แก่ตัวสัตว์ เช่น เร่งการเจริญเติบโต สร้างสารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโต

  33. 8. มีความจำเพาะต่อสัตว์แต่ละชนิด 9. ควรเป็น gram positive ทนต่อการย่อยสลายของเอ็นไซม์ใน GI 10. มีความเสถียรในการเก็บรักษา สูญเสียสภาพไม่เกิน 25 % หลังผ่านการผลิต (6 สัปดาห์) หรือ 40% หลัง 12 สัปดาห์

  34. ชนิดของจุลินทรีย์ที่ใช้เป็นโบรไบโอติคชนิดของจุลินทรีย์ที่ใช้เป็นโบรไบโอติค 1. จุลินทรีย์ที่เจริญในสภาพมีอากาศ (aerobes) genus Bacillus เช่น Bacillus cereus เตรียมได้จากดิน Bacillus cougulans จากข้าวมอลต์ สร้างกรดแลคติค Bacillus subtilis จากหญ้าแห้ง

  35. 2. จุลินทรีย์ที่เจริญเติบโตในสภาพที่ไร้อากาศ (anaerobes) genus Clostridium Clostridium butyricum จากลำไส้คน สร้างกรดบิวทีริค 3. จุลินทรีย์ที่สร้างกรดแลคติค (lactic acid organism) genus Bifidobacterium lactobacillus Entrococci Bifidobacterium thermophilum

  36. 4. ยีสต์ มีความสามารถในการหมักย่อย genus Saccharomyces Saccharomyces cerevisiae ผลิตprotease, peptidase & เอนไซม์ย่อย CHO ลูกสุกรเล็กหลังหย่านม สุกรขุน สุกรอุ้มท้อง

  37. * การใช้โบรไบไอติคร่วมกับยาปฏิชีวนะ ใช้ยาปฏิชีวนะที่ทำลายจุลินทรีย์ที่ให้โทษในทางเดินอาหาร แต่ไม่ทำลายโบรไบโอติคที่เติมลงไป เกิดประโยชน์ทั้งด้านการใช้โบรไบโอติคและการรักษา Probios (L.acidophillus) + tylosin, lincomycin

  38. ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก : การใช้โบรไบโอติค เอ็นไซม์ และกรดอินทรีย์ในอาหารสัตว์ วารสารสัตวบาลที่ 6 ฉบับที่ 32 มี.ค. - เม.ย. 2539

More Related