410 likes | 981 Views
การประเมินผลนโยบาย : บทเรียนจากกรณีศึกษาต่างๆ. นพ. วิพุธ พูลเจริญ. กรอบการอภิปราย. แนวคิดและความหมายของนโยบาย กระบวนการนโยบาย และการวิเคราะห์ คำถามการประเมินผลนโยบาย แนวทาง และวิธีการประเมินผล ตัวอย่างการประเมินผลนโยบาย. การประเมินผลนโยบาย ?. การประเมินผลนโยบาย ?.
E N D
การประเมินผลนโยบาย :บทเรียนจากกรณีศึกษาต่างๆ นพ. วิพุธ พูลเจริญ
กรอบการอภิปราย • แนวคิดและความหมายของนโยบาย • กระบวนการนโยบาย และการวิเคราะห์ • คำถามการประเมินผลนโยบาย • แนวทาง และวิธีการประเมินผล • ตัวอย่างการประเมินผลนโยบาย
ความหมายของนโยบายสาธารณะความหมายของนโยบายสาธารณะ • ความหมายที่ 1นโยบาย = คำประกาศที่เป็นทางการของรัฐบาลนโยบายจึงเป็นเรื่องของรัฐบาลเท่านั้น • ความหมายที่ 2นโยบาย = ทิศทางที่สังคมต้องการนโยบายจึงเป็นเรื่องที่กว้างขวางกว่ารัฐ และสังคมต้องมีส่วนร่วม • ความหมายที่ 3นโยบาย = ข่ายความสัมพันธ์ของการตัดสินใจที่แสดงออกในรูปแบบของการปฏิบัติและไม่ปฏิบัติของฝ่ายต่างๆนโยบายจึงเป็นเรื่องของหลายฝ่ายๆ ที่อาจตัดสินใจกลับไปกลับมา ตามเงื่อนไขและแรงจูงใจต่างๆ
มุมมองต่อกระบวนการนโยบายสาธารณะมุมมองต่อกระบวนการนโยบายสาธารณะ ผู้วิเคราะห์นโยบาย ผู้วางแผนผลักดันนโยบาย ผู้ประสานภาพรวมนโยบาย ผู้ปฏิบัติการทางการเมือง
มุมมองกระบวนการนโยบายสาธารณะมุมมองกระบวนการนโยบายสาธารณะ • มุมมองที่ 1กระบวนการนโยบายแบบเส้นตรงเน้นกระบวนการตามสายอำนาจหน้าที่ และการตัดสินใจของรัฐ • มุมมองที่ 2กระบวนการนโยบายแบบเจรจาต่อรอง • แนวคิดที่เน้นการสร้างและการต่อสู้ระหว่างเครือข่ายนโยบาย • แนวคิดที่เน้นการช่วงชิงจังหวะในกระบวนการนโยบาย • มุมมองที่ 3กระบวนการนโยบายแบบถกแถลงเน้นกระบวนการสะท้อนคิด (Reflection) และการสร้างความเข้าใจร่วมกันในกระบวนการนโยบาย
มิติการวิเคราะห์นโยบายมิติการวิเคราะห์นโยบาย การวิเคราะห์นโยบายแบบเส้นตรง การวิเคราะห์นโยบายแบบเจรจาต่อรอง การวิเคราะห์นโยบายแบบถกแถลง การกำหนดวาระนโยบาย (Agenda Setting) การวางกรอบนโยบาย (Policy Formulation) การตัดสินใจนโยบาย (Decision Making) การดำเนินนโยบาย (Policy Implementation) การประเมินนโยบาย (Policy Evaluation)
นโยบายสาธารณะ:ใครๆ ก็มีส่วนกำหนดได้ (แต่ไม่เท่ากัน) • รัฐบาล (ฝ่ายการเมือง ราชการ เทคโนแครต) • เอกชน (บริษัท สมาคมธุรกิจ) • โลกาภิวัตน์ (การค้าเสรี การเคารพสิทธิมนุษยชน) • ท้องถิ่น (อำนาจของอปท. การคัดค้านโครงการ) • ภาคประชาชน (ขบวนการทางสังคม –FTA, แปรรูป กฟผ.) • แต่ไม่มีใครมีอำนาจที่จะตัดสินใจได้โดยสมบูรณ์ • และอำนาจการตัดสินใจของแต่ละฝ่าย ในแต่ละช่วงเวลา (หรือในแต่ละเงื่อนไข) ก็ไม่เท่ากันด้วย
อำนาจสามมิติในกระบวนการนโยบายสาธารณะอำนาจสามมิติในกระบวนการนโยบายสาธารณะ • อำนาจในการตัดสินใจDecision-making power • อำนาจในการกำหนดประเด็นและวาระในการตัดสินใจAgenda-setting power • อำนาจในการกำหนดความคิดและวิธีคิดของสังคมThought Manipulation power
เงื่อนไขของการทำงานนโยบายสาธารณะ 3 ลักษณะ • นโยบายที่กำลังอยู่ในกระบวนการตัดสินใจ(Policy in Decision-making) • นโยบายแบบไม่ตัดสินใจหรือไม่ดำเนินการใดๆ(Non-action Policy) • นโยบายแบบไม่เป็นประเด็นในสังคมเลย(Non-issue Policy) • การทำงานนโยบายทั้งสามแบบแตกต่างกัน (สิ้นเชิง) แต่โดยทั่วไป เรามักไม่เคยวิเคราะห์ว่าแตกต่างกันอย่างไร และจะทำอย่างไร
ความสำคัญของกระบวนการตัดสินใจต่อการประเมินผลความสำคัญของกระบวนการตัดสินใจต่อการประเมินผล affected stakeholder groups + values =decisions facts science
Post-normal science ignorance High DECISION STAKES ‘Post-Normal’ Science (uncertain facts, disputed values, high stakes, decisions urgent) Epistemological uncertainty (reduced by the use of societal and community consensus and community review) Methodological uncertainty(reduced by the use of professional consensus and peer review) Expert-Professional Judgement (use of judgement and good practice) Technical uncertainty (reduced by the use of statistics) Applied ‘Normal’ Science (traditional notions of science) Low LEVEL OF UNCERTAINTY High
การประเมินผล การประเมินผล เป็นกระบวนการใช้ดุลยวินิจตัดสินคุณค่า (Value Judgement) ของ นโยบาย แผนงาน หรือ โครงการ การประเมินผล ควรจะช่วยในการเพิ่มศักยภาพและสมรรถนะของ นโยบาย แผนงาน หรือ โครงการ แต่ก็อาจจะเป็นเครื่องมือยุติการดำเนินการ
คำถามพื้นฐานของการประเมินผลคำถามพื้นฐานของการประเมินผล 1) ความจำเป็น (Requisitiveness) 2) คุณภาพ (Quality) 3) ประสิทธิภาพ (Efficiency) 4) ความพอใจ (Satisfaction) 5) คุณค่าที่เกิดขึ้นมีความแตกต่างกันหรือไม่(Differential Value)
ความจำเป็น (Requisitiveness) บริบทของนโยบายและเงื่อนไขสังคม เศรษฐกิจ ที่เปลี่ยนไปอาจจะทำให้ความจำเป็นของนโยบาย แผนงาน และโครงการเปลี่ยนไป เงื่อนไขที่เป็นปัญหาแปรเปลี่ยนไป หรือ ไม่ หลักการและทฤษฎีการจัดการกับปัญหายังใช้ได้อยู่หรือไม่
การประเมินคุณภาพ 1) ผลลัพธ์ (Outcome) - สัมฤทธิผลตามวัตถุประสงค์ (Effectiveness) - ผลข้างเคียงที่ไม่คาดคิด (Harmlessness) 2) กระบวนการดำเนินการ (Performance of Activities) 3) ความร่วมมือ (Compliance) และการอรรถประโยชน์ที่เกิดขึ้น (Utilization) 4) การจัดการและการวางโครงสร้าง (Facility and Setting)
ปัจจัยขับเคลื่อนนโยบายเอดส์แต่ละด้านในช่วง ๒๕๓๕ – ๒๕๓๙ (แผน ๗)
ปัจจัยขับเคลื่อนนโยบายเอดส์แต่ละด้านในช่วง ๒๕๔๕ – ๒๕๔๙ (แผน ๙)
บริบททางนโยบายและแผนงานบริบททางนโยบายและแผนงาน
การติดเชื้อเอดส์รายใหม่จำแนกตามเหตุปัจจัยของการติดเชื้อการติดเชื้อเอดส์รายใหม่จำแนกตามเหตุปัจจัยของการติดเชื้อ
พลวัตรของเหตุปัจจัยการติดเชื้อเอดส์พลวัตรของเหตุปัจจัยการติดเชื้อเอดส์
สาเหตุการติดเชื้อที่แปรเปลี่ยนไปสาเหตุการติดเชื้อที่แปรเปลี่ยนไป • การเปลี่ยนแปลงจากการติดเชื้อส่วนใหญ่ในชายจากหญิงบริการทางเพศในช่วง พ.ศ. ๒๕๓๕ มาเป็นการติดเชื้อของหญิงจากจากสามี และสามีจากภรรยา ในปัจจุบัน • การจัดบริการให้เข้าถึงกลุ่มผู้ติดเชื้อเอดส์ให้สามารถป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจึงเป็นประเด็นสำคัญ • การแพร่เชื้อในกลุ่มชายรักชายเริ่มมีสัดส่วนสูงขึ้นรองจากการติดเชื้อระหว่างคู่สามีภรรยา
กิจกรรมที่ขาดการพัฒนากิจกรรมที่ขาดการพัฒนา • โครงการถุงยางอนามัย ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ขาดการวิจัยและพัฒนาให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาในปัจจุบัน • บริการรักษา และเข้าถึงยาต้านไวรัส ขยายตัวอย่างรวดเร็วแต่ขาดแนวบูรณาการให้เข้ากับมาตรการด้านการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อให้เป็นบริการผสมผสาน • บริการการให้คำปรึกษาด้วยความสมัครใจ (VCT)ขาดการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับความต้องการของแต่ละกลุ่มประชากร • ขาดการพัฒนากิจกรรมด้านทักษะชีวิตในทุกกลุ่มประชากร
การแปลกลยุทธ์สู่การปฏิบัติการแปลกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ