1 / 79

สู่ความเป็นเลิศ

การพัฒนาอุปนิสัย. สู่ความเป็นเลิศ. โดย. อ.ภูว์สมิง ดวงเกิด. 9 มิถุนายน 2550. เพื่อชนะใจตนเอง. คิดก่อน ทำก่อน. กำหนดจุดม่งหมาย. สร้างโอกาสก่อน. เริ่มด้วยความมั่นใจ. การพัฒนาอุปนิสัย สู่ความเป็นเลิศ. การพัฒนาตนเอง. พัฒนาตนเอง. จัดลำดับ. อยู่เสมอ. ความสำคัญ. คิดแบบ. ร่วมมือ ร่วมใจ.

nishi
Download Presentation

สู่ความเป็นเลิศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาอุปนิสัย สู่ความเป็นเลิศ โดย อ.ภูว์สมิง ดวงเกิด 9 มิถุนายน 2550

  2. เพื่อชนะใจตนเอง คิดก่อน ทำก่อน กำหนดจุดม่งหมาย สร้างโอกาสก่อน เริ่มด้วยความมั่นใจ การพัฒนาอุปนิสัย สู่ความเป็นเลิศ การพัฒนาตนเอง พัฒนาตนเอง จัดลำดับ อยู่เสมอ ความสำคัญ คิดแบบ ร่วมมือ ร่วมใจ ชนะ - ชนะ ประสานพลัง เอาใจเขา ใส่ใจเรา เพื่อชนะใจคนอื่น 2

  3. อุปนิสัยที่๑ โปรแอกทีฟ Proactive “คิดก่อน ทำก่อน สร้างโอกาสก่อน” 3

  4. คิดก่อน Attitude First จะสร้างพลังแห่งความเชื่อได้อย่างไร • คิดว่าต้องสำเร็จ อย่าคิดว่าล้มเหลว • เตือนตัวเองเสมอว่าคุณเก่งกว่าที่คิด • คิดใหญ่ ไม่คิดเล็ก 4

  5. วิธีการคิดอย่างสร้างสรรค์วิธีการคิดอย่างสร้างสรรค์ เชื่อว่าเราทำได้ อย่าให้ความคิดดั้งเดิมครอบงำจิตใจ ถามตัวเอง “เราจะทำให้ดีขึ้นได้อย่างไร” ถามตัวเอง “เราจะทำให้มากขึ้นได้อย่างไร” ฝึกการเป็นนักปราชญ์ : ฟัง คิด ถาม เขียน เปิดใจของคุณ “เราจะทำ” 5

  6. ทำก่อน Here and Now รักษาโรคชอบแก้ตัว : โรคแห่งความล้มเหลว • ข้ออ้างเรื่องสุขภาพ • ข้ออ้างเรื่องความฉลาด • ข้ออ้างเรื่องอายุ • ข้ออ้างเรื่องโชคชะตา 6

  7. หลัก ๔ ประการที่ใช้ต่อสู้กับ ข้ออ้างเรื่องสุขภาพ ๑. ปฏิเสธที่จะพูดถึงเรื่องสุขภาพของคุณ ๒. ปฏิเสธที่จะวิตกหรือทุกข์เกี่ยวกับสุขภาพ ๓. จงยินดีที่สุขภาพคุณดีพอๆกับคนอื่น ๔. จงเตือนตัวเอง “สึกไปดีกว่าเป็นสนิม” 7

  8. หลัก ๓ ประการที่ใช้ต่อสู้กับ ข้ออ้างเรื่องความฉลาด ๑. อย่าประเมินมันสมองของคุณต่ำเกินไป ๒. ทัศนคติสำคัญกว่ามันสมอง ๓. ความสามารถที่จะคิดมีค่ามากกว่าความ สามารถที่จะจำ “คิดไม่ได้ ทำไม่ได้” 8

  9. หลัก ๓ ประการที่ใช้ต่อสู้กับ ข้ออ้างเรื่องอายุ • มองอายุปัจจุบันของคุณในแง่บวก • “ยังหนุ่ม ยังสาว” ไม่ใช่ “แก่แล้ว” ๒. คำนวณเวลาที่คุณยังสามารถทำงานได้ ๓. ใช้เวลาที่เหลือทำสิ่งที่ต้องและอยากทำ Work sheet : ตารางชีวิต 9

  10. หลัก ๒ ประการที่ใช้ต่อสู้กับ ข้ออ้างเรื่องโชคชะตา ๑. ยอมรับกฎของเหตุและผล ๒. อย่าเป็นคนเพ้อฝัน 10

  11. สร้างโอกาสก่อน Yes I can สร้างความเชื่อมั่นในตนเองและทำลายความกลัว • เชื่อมั่นว่าตนเองทำได้ • กำหนดจิตไปที่เป้าหมาย • ปิดการรับรู้สภาพแวดล้อมไว้ชั่วขณะ 11

  12. ความรู้สึก ความรับผิดชอบ ทำด้วยความรู้สึก ไม่ใช่เพียงเพราะเป็นหน้าที่ 12

  13. มุ่งมั่นที่จะได้ชัยชนะมุ่งมั่นที่จะได้ชัยชนะ มุ่งมั่นสู่ความเป็นเลิศ มีเชื่อในทัศนคติที่ว่า “ไม่มีอะไรดีที่สุด” ฉะนั้นต้อง “Kaizen Mind” ต้องไม่กล่าวคำปฏิเสธด้วยคำว่า “ไม่” “Yes, I can” 13

  14. การชนะตัวเอง Self Control • ต้องมุ่งมั่นที่จะแก้นิสัยของตัวเองจากเสีย • ไปสู่ดีให้มากที่สุด ทำบัญชีนิสัยเสีย • 2. วิธีการเปลี่ยนนิสัยจากแย่ไปสู่ดีทำได้ • 2 วิธี คือ ลดทีละน้อย เอาชนะใจตัวเอง 14

  15. แผนการดำเนินชีวิตของเราแผนการดำเนินชีวิตของเรา ถูกกำหนดขึ้นโดย... • พันธุกรรม(genetic) • จิตใจ(psychic) • สภาพแวดล้อม(environment) 15

  16. อุปนิสัยที่๒ กำหนดจุดมุ่งหมาย แล้วเริ่มต้นทำด้วยความมั่นใจ 16

  17. 1. ความมุ่งหมาย Aims จุดมุ่งหมายที่เราจะเลือกเพื่อเป็นความหวัง อันสูงสุดของเรานั้นจะต้องเป็นสิ่งที่เรารัก มากที่สุดและอยากจะเป็นอย่างจริงใจที่สุด 17

  18. ความมุ่งหมาย (AIM) จุดมุ่งหมายที่เราจะเลือกเพื่อเป็นความหวัง อันสูงสุดของเรานั้นจะต้องเป็นสิ่งที่เรารัก มากที่สุดและอยากจะเป็นอย่างจริงใจที่สุด 18

  19. ลักษณะของความมุ่งหมายที่ดีลักษณะของความมุ่งหมายที่ดี เป็นจริงได้ ไม่เพ้อฝัน ระบุให้ชัดเจน มีความเฉพาะเจาะจง เป็นความหวังอันสูงสุดของเรา หรือเป็น สิ่งที่เรารักมากที่สุด 19

  20. ปัจจัยที่จะช่วยให้เราไปสู่ความมุ่งหมายปัจจัยที่จะช่วยให้เราไปสู่ความมุ่งหมาย • เรามีความตั้งใจจริง และมีความพยายาม มานะพยายามฟันฝ่าอุปสรรคเพียงใด • เรามีความรู้ความสามารถเพียงพอหรือไม่ • เรามีคุณความดี “บารมี” ที่สะสมไว้มาก น้อยเพียงใด 20

  21. เราได้พัฒนาตนเองไปสู่จุดมุ่งหมายเราได้พัฒนาตนเองไปสู่จุดมุ่งหมาย หรือไม่เพียงใด • โอกาสและจังหวะในชีวิตมาถึงเราหรือไม่ (โอกาส เวลา สถานที่) 21

  22. 2. ความเป็นผู้ไม่รู้จักหมดหวัง Hopefulness ทำไมถึงผิดหวัง.... สิ่งจำเป็นที่หล่อเลี้ยงชีวิต ให้เกิดความชุ่มฉ่ำมี 3 ประการ คือ ศรัทธา ความหวัง และความรัก (เด็กว่ายน้ำ) 22

  23. ปัจจัยที่จะช่วยให้เราบรรลุถึงความหวังปัจจัยที่จะช่วยให้เราบรรลุถึงความหวัง • ไม่ให้ตั้งความหวังอย่างเลื่อนลอย ต้อง ตั้งใจจริงดุจการอธิษฐาน • ให้ตรองดูว่าความหวังของเราเป็นสิ่งที่มี ความชอบธรรมหรือไม่ • ฝึกหัดใจให้มั่นคงแน่วแน่ ไม่เป็นคนโลเล เหลวไหล จับจด เลอะเทอะ 23

  24. อย่าท้อถอย จงพยายามหาวิธีการใหม่ๆ ที่จะเอาชนะปัญหา • จงให้ความหวังตายไปพร้อมกับตัว ดีกว่า ที่จะหมดหวังทั้งที่ยังมีชีวิตอยู่ “ตายซาก” 24

  25. 3.ความอดทนต่อความยากลำบาก3.ความอดทนต่อความยากลำบาก Energy คนในโลกนี้แยกออกเป็น 2 ประเภท คือ ประเภทแรกมีน้ำอดน้ำทนสามารถเอาชนะ อุปสรรคแห่งชีวิตได้ ประเภทสองยอมแพ้ ต่ออุปสรรคและกลัวต่อความยากลำบาก 25

  26. แนวทางพัฒนาตนเองไม่ให้กลัวความยากลำบากแนวทางพัฒนาตนเองไม่ให้กลัวความยากลำบาก • พยายามคบแต่เพื่อนที่มีอุปนิสัยกล้าหาญ เด็ดเดี่ยวและมีน้ำอดน้ำทน • ให้เตรียมตัวเตรียมใจต่อความยากลำบาก ที่อาจจะเกิดขึ้น อย่าหลงระเริง • ตระหนักว่าคนใดเอาชนะความยากลำบาก ได้ก็จะเป็นผู้ชนะ ผู้ใดอ่อนแอก็จะเป็นผู้แพ้

  27. ต้องหมั่นดูแลรักษาสุขภาพกายและใจต้องหมั่นดูแลรักษาสุขภาพกายและใจ ให้แข็งแรงและสมบูรณ์ • อย่ายอมเป็นทาสของความทุกข์ ความ วิตกกังวลในเวลาที่ชีวิตประสบความ ยุ่งยาก ให้แสวงหาทางออกที่ดีที่สุด 27

  28. 4. ความเป็นผู้มีหัวใจเข้มแข็ง Strongmindedness คนที่มีกำลังจิตแข็งแกร่งหลายคนสามารถ เผชิญเหตุการณ์ในชีวิตที่ร้ายแรงที่สุด เสี่ยง ต่อความตายมากที่สุดด้วยการมีสติปัญญา แล้วใช้สติปัญญาขับไล่ความทุกข์ให้ผ่านไป 28

  29. ความเป็นผู้มีหัวใจเข้มแข็งความเป็นผู้มีหัวใจเข้มแข็ง Strongmindedness • ไม่รู้จักบ่นหรือร้องทุกข์ • ไม่ต้องการรู้ว่าคนอื่นจะคิดกับเราอย่างไร • ไม่คิดว่าตนเองเป็นคนเคราะห์ร้าย • มีสติสัมปชัญญะตลอดเวลา 29

  30. 5. การชนะตัวเอง Self Control คนเราโดยปกติถึงจะมีอำนาจล้นฟ้าและทำศึก เอาชนะผู้อื่นมามากต่อมาก แต่มักจะยอมแพ้ แก่ใจตนเอง นั่นคือยอมตามกิเลสตัณหาหรือ อำนาจใฝ่ต่ำ 30

  31. การชนะตัวเอง Self Control • ต้องมุ่งมั่นที่จะแก้นิสัยของตัวเองจากเสีย • ไปสู่ดีให้มากที่สุด ทำบัญชีนิสัยเสีย • 2. วิธีการเปลี่ยนนิสัยจากแย่ไปสู่ดีทำได้ • 2 วิธี คือ ลดทีละน้อย เอาชนะใจตัวเอง 31

  32. 6. การไม่ละทิ้งความพยายาม Preserverance ผู้ที่มีความพยายามอย่างไม่ลดละเท่านั้นที่จะ ทำกิจอันใดก็เพียรทำจนสำเร็จ ถึงแม้ประสบ อุปสรรคร้ายแรงเพียงใดก็มิได้ละทิ้งความ พยายาม.... เขาจึงเป็นผู้ที่ประสบความสำเร็จ 32

  33. แนวทางพัฒนาตนเองไม่ให้ละทิ้งความพยายามแนวทางพัฒนาตนเองไม่ให้ละทิ้งความพยายาม • ความตั้งใจแน่วแน่ • สุขภาพกายและใจ • อดทนต่อความยากลำบาก • มีความพยายามอย่างไม่ลดละ • มีความกระตือรือร้น 33

  34. อุปนิสัยที่๓ การจัดลำดับ ความสำคัญของ กิจกรรมที่ทำ 34

  35. การวางแผน ทำอะไร ? (What must be done ?) ทำอย่างไร ? ทำไมต้องทำ ? (Why must (How Should วงล้อแห่ง it be done ?) it be done ?) การวางแผน (Planning Wheel) ต้องเสร็จเมื่อไร ? ทำที่ไหน ? (When should 5 W 2 H (Where should it be done ?) it be done ?) ใครเป็นคนทำ ? (Who should do it ?) 35

  36. สิ่งที่จำเป็นสำหรับการวางแผนสิ่งที่จำเป็นสำหรับการวางแผน เป้าหมาย (Goal) Must / Want เป้าหมายที่ดีควรจะมีความชัดเจน สมเหตุ สมผล และต้องเป็นไปได้ 36

  37. สิ่งที่จำเป็นสำหรับการวางแผนสิ่งที่จำเป็นสำหรับการวางแผน เป้าหมาย (Goal) Must / Want เป้าหมายที่ดีควรจะมีความชัดเจน สมเหตุ สมผล และต้องเป็นไปได้ ขั้นตอนหลักในการดำเนินการตามแผน (Program) ระบุขั้นตอนแรกถึงสุดท้าย 37

  38. ความสำคัญของเป้าหมาย เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ทำความคาดหวังให้ชัดเจนขึ้น เพิ่มความจูงใจในการทำงาน ช่วยในการควบคุม 38

  39. เวลาที่จะต้องใช้ (Schedule) แผนการใช้เงิน (Budget) การคาดการณ์ถึงอุปสรรคที่จะเกิดขึ้นพร้อม แนวทางแก้ไข (Forecast) โดยใช้หลัก If……. What will happen? 39

  40. คณะทำงาน (Organization) ระบุ จำนวนและชนิดของตำแหน่งพร้อมหน้าที่ และความรับผิดชอบของแต่ละคน นโยบาย (Policy) แผนงานจะต้องไม่ขัด กับนโยบาย วิธีการปฏิบัติงาน (Procedure) หรือ คู่มือการปฏิบัติงาน เช่น ระเบียบปฏิบัติ 40

  41. มาตรฐานของงาน(Work Standard) ระดับขีดความสามารถในการทำงานของ บุคคลที่ยอมรับได้ตามมาตรฐานที่ต้องการ (ให้เน้นในเรื่องมาตรฐานและคุณภาพ) 41

  42. การลำดับความเร่งด่วนของงานการลำดับความเร่งด่วนของงาน งานสำคัญและเร่งด่วน งานสำคัญแต่ไม่เร่งด่วน งานไม่สำคัญแต่เร่งด่วน งานไม่สำคัญและไม่เร่งด่วน 42

  43. การแบ่งแยกงานตามความสำคัญการแบ่งแยกงานตามความสำคัญ งานใดบ้างที่ต้องทำให้เสร็จในวันนี้ งานใดบ้างที่ควรทำให้เสร็จในวันนี้ งานใดบ้างที่ดีถ้าจะทำให้เสร็จในวันนี้ 43

  44. การจัดลำดับความสำคัญก่อนหลังการจัดลำดับความสำคัญก่อนหลัง • งานอะไรสั่งก่อนทำก่อน • งานง่ายใช้เวลาน้อยทำก่อน • งานที่ต้องส่งมอบก่อนทำก่อน 44

  45. ข้อดีของการจัดลำดับความสำคัญของงานข้อดีของการจัดลำดับความสำคัญของงาน • ได้ทำงานที่สำคัญที่สุดก่อน • หากมีความจำเป็นคุณต้องทำงานที่ เร่งด่วนเสียก่อน • ทำให้ทุ่มเทสมาธิทั้งหมดให้กับงาน 45

  46. ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพตามทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพตาม กำหนดการ • เป้าหมายที่ตั้งไว้จะได้รับการปฏิบัติ ให้ลุล่วงได้ดีที่สุด • งานที่ถูกทำโดยคนอื่นจะมีการมอบหมาย ให้ผู้อื่น 46

  47. อุปนิสัยที่๔ คิดแบบชนะ-ชนะ ไม่มีผู้แพ้ 47

  48. ทำตาม เชื่อ ชอบ 48

  49. สาเหตุของความขัดแย้ง ผลประโยชน์ขัดแย้งกัน ไม่ไว้วางใจ ความคิดเห็นไม่ตรงกัน การรับรู้ข้อมูลข่าวสารต่างกัน เป้าหมายต่างกัน 49

  50. ผลเสียที่เกิดจากความขัดแย้งผลเสียที่เกิดจากความขัดแย้ง • สูญเสียกำลังคน • ความสัมพันธ์ระหว่างกัน • ไม่ยอมรับกันและกัน • แบ่งพรรคแบ่งพวก • ต่อต้านกันเอง 50

More Related