1 / 143

lkefwekpgksro

dspvlgltker

ning
Download Presentation

lkefwekpgksro

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดอบรม “การพัฒนาศักยภาพสินค้าเกษตรแปรรูปสู่ตลาดอาเซียนอย่างยั่งยืน อ.แม่สอด จ.ตาก” “กลยุทธ์ทางการตลาด จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ” จัดโดย บรรยายโดย พรรณิดา แก้วปทุมทิพย์ บริษัทสปริงบอร์ด คอนซัลติ้งจ ากัด 31 กรกฎาคม 2562

  2. การตลาดสมัยใหม่ : ภาพใหญ่ พฤติกรรมผู้บริโภค กับโลกที่เปลี่ยนไป Consumer Trend Design Thinking นวัตกรรม สินค้า การตลาดและ การสร้างแบรนด์ ความเข้าใจเชิงลึก เกี่ยวกับผู้บริโภค Consumer Insights การสื่อสารการตลาด

  3. Design Thinking คืออะไร Think ระดมความคิด ส าหรับสินค้าหรือบริการ เพื่อแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ ของผู้บริโภค “ใจเขาใจเรา” เข้าใจผู้บริโภคเชิงลึก เห็นอกเห็นใจผู้บริโภค การวิจัยตลาด การสังเกตพฤติกรรมผู้บริโภค พัฒนาสินค้าต้นแบบ ทดสอบสินค้า ก่อนออกสู่ตลาด วิเคราะห์ ระบุประเด็นปัญหา หรือความต้องการของผู้บริโภค

  4. ขั้นตอนการระดมความคิด - Ideation ฟังและเข้าใจผู้บริโภคเชิงลึก Creative Brainstorming Techniques

  5. ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ใช้หลักการคิดแบบ Design Thinking Wearable Medical Devices Ergonomic Safety Couch อาหารข้นหนืดส าหรับ ผู้มีภาวะกลืนล าบาก Wearable Healthcare Devices

  6. I. พฤติกรรมผู้บริโภคกับโลกที่เปลี่ยนไป II. หลักการตลาดเบื้องต้นและโมเดลการสร้างแบรนด์ III.แนวคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์

  7. I.พฤติกรรมผู้บริโภคกับโลกที่เปลี่ยนไปI.พฤติกรรมผู้บริโภคกับโลกที่เปลี่ยนไป

  8. อยู่ๆโลกใบเดิมก็หายไปอยู่ๆโลกใบเดิมก็หายไป *การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่พลิกโฉมวิธีการท างานแบบเดิมๆ ด้วยวิธีการใหม่ๆที่สร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพกว่าเดิม เจ้าของบริการรถแท็กซี่ ที่ไม่ได้เป็นเจ้าของรถแม้แต่คันเดียว เจ้าของเว็บไซต์เครือค่ายสังคมออนไลน์ ที่ไม่ได้เป็นเจ้าของเนื้อหา(content)เลย เจ้าของกิจการค้าปลีก ที่ไม่ได้เป็นเจ้าของสินค้าแม้แต่ชิ้นเดียว เจ้าของกิจการที่พัก ที่ไม่ได้เป็นเจ้าของที่พักแม้แต่แห่งเดียว

  9. Airb&b

  10. Hema Supermarket –เหอหม่า ซุปเปอร์มาเก็ต • ซุปเปอร์มาเก็ตแห่งอนาคต ที่รวมเอาโลก offline และ โลก online เข้าด้วยกัน

  11. Hema Supermarket –เหอหม่า ซุปเปอร์มาเก็ต • เมื่อลูกค้าเลือกสินค้าโดยการสแกนบาร์โคด พนักงานจะได้รับค าสั่งซื้อออนไลน์ พวกเขาจะไปหยิบถุงเพื่อไปใส่สินค้าที่ลูกค้าสั่ง • เมื่อพนักงานหยิบของครบแล้ว ก็จะน าถุงไปส่งยังส่วนกลางที่มีรางแขวนตะกร้า เพื่อน าไปส่งที่จุดรับของ • ลูกค้าจะจ่ายเงินแบบออนไลน์โดยใช้ Alipay • หากอยู่ในรัศมี 3 กม.สามารถจัดส่งถึงบ้าน

  12. Hema Supermarket –เหอหม่า ซุปเปอร์มาเก็ต

  13. เทรนด์หลักของโลก The Mega Trend • การรู้ว่าแนวโน้มของโลกว่าจะเคลื่อนไปในทิศทางใด จะท าให้เราทันโลก • การทันโลกจะท าให้เราสามารถคิดค้นสินค้าและบริการ ได้สอนคล้องกับสภาวะที่เปลี่ยนไป

  14. 1.การเพิ่มขึ้นของประชากรสูงวัยเป็น Mega Trend % % การเพิ่มขึ้นของประชากรอายุ 60+ แบ่งตามภูมิภาค 2000-2050 40 2000 2050 35 30 25 % ประชาการที่อายุ 60 + 20 15 10 5 0 World Total Africa Asia Europe Nothern America Source: UN World Population Projection

  15. สังคมผู้สูงวัยกับเรื่องราวที่เปลี่ยนไปสังคมผู้สูงวัยกับเรื่องราวที่เปลี่ยนไป • ผู้บริโภคกลุ่มสูงวัย (BabyBoomer)จะให้ความหมายใหม่กับค าว่า สูงวัย โดยเฉพาะในเรื่องของรูปแบบการใช้ชีวิต (Life Style) • พวกเขาจะมีความต้องการมากขึ้นในการจับจ่ายใช้สอย การใช้สินค้าและบริการ ท าให้เกิดปรากฏการณ์ใหม่ที่เรียกว่า “เศรษฐกิจผู้สูงวัย” “Longevity Economy” • คนกลุ่มอายุ 50 ปี + มีความตื่นตัว สนใจในการค้นหาและเรียนรู้สิ่งต่างๆมากกว่าสมัยก่อน 1 ใน 5 มีงานอดิเรกใหม่ 1 ใน 8 เรียนรู้ ทักษะใหม่ และมากกว่า 43% ชอบเดินทางท่องเที่ยว ที่มา : TCDC & Euromonitor

  16. 2.วิถีสุขภาพ (Healthy Life Style) ก.วิถีสุขภาพในความเฉพาะตัว (Personalized Wellness) • ผู้บริโภคดูแลสุขภาพตัวเองทั้งระบบแบบองค์รวมมากขึ้น ในทุกจังหวะของชีวิต ทั้งการกินการอยู่ การออกก าลัง และมองหาแนวทางใหม่ๆในการดูแลสุขภาพ แบบเฉพาะตัว(Personalized)เพื่อให้ได้ประโยชน์เต็มที่สูงสุดกับตนเอง (Health Optimization) • นอกจากจะใส่ใจสุขภาพมากขึ้นเรื่อยๆ ผู้บริโภคจะยังมองหาตัวช่วยใหม่ๆ ที่จะมาช่วยดูแลสุขภาพของเขาอีกด้วย สิ่งเหล่านี้ท าให้ผู้บริโภครู้สึกว่าเขาสามารถ บริหารจัดการสุขภาพด้วยตัวเองได้ในระดับหนึ่ง

  17. ข.สุขภาพดี คือสัญลักษณ์ทางสถานะภาพ (Wellness as Status Symbol) • การมีสุขภาพดีเป็นความต้องการที่สากล เพราะใครๆก็ต้องการมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย • แต่การมีสุขภาพดีในยุคสังคมดิจิตอลนี้ เป็นเสมือนสัญลักษณ์ทางสถานะภาพกลายๆ • ผู้บริโภคยุคใหม่ จะยอมจ่ายค่าออกก าลังในฟิตเนสทันสมัย เสื้อผ้าออกก าลังกายเก๋ๆ และอุปกรณ์เสริมในการออกก าลัง การเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาต่างๆ การกินอาหารสุขภาพ รวมถึงการเข้าคอร์สสุขภาพต่างๆ ที่มา : Euromonitor

  18. 3.ใส่ใจในปัญหาขยะพลาสติก (Rethink Plastic) • ปัญหาขยะพลาสติกเข้าขั้นวิกฤตทั่วโลก มีผลกระทบทางลบเกิดขึ้นกับ ระบบนิเวศน์ในธรรมชาติอย่างใหญ่หลวงและเริ่มส่งผลกับชีวิตมนุษย์ • ผู้บริโภคตระหนักและรับรู้ปัญหานี้จากสื่อต่างๆ และเริ่มตื่นตัวโดย พยายามปรับตัว ด้วยการ ลด ละ เลิก การใช้พลาสติกในชีวิตประจ าวัน ที่มา: Mentel

  19. Unilever, Patagonia, Starbucks – Think Earth

  20. ภาชนะย่อยสลายได้

  21. II. หลักการตลาดเบื้องต้น และโมเดลการสรางแบรนด์

  22. การตลาดคืออะไร ??

  23. การตลาดคืออะไร?

  24. การตลาดคือ….. Dr. Philip Kotler ดร.ฟิลลิป คอตเลอร์ ศาสตราจารย์ด้านการตลาดที่มีชื่อเสียงของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ให้นิยามของการตลาดว่า "การตลาด คือ กระบวนการ หรือการจัดการ ที่ท าให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคล ได้รับ สิ่งที่ตอบสนองต่อความจ าเป็น (Needs) และความต้องการ (Wants) โดยการสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่า และน าไปแลกเปลี่ยนกับบุคคลอื่น”

  25. แนวคิดหลักทางการตลาด ….. ความจ าเป็น (Needs) ความต้องการ (Wants) สินค้า&บริการ (Products & Services) ตลาด (Markets) แนวคิดหลัก ทางการตลาด Core Marketing Concept • • • คุณค่า (Value) ความพึงพอใจ(Satisfactions) คุณภาพ (Quality) • • • การแลกเปลี่ยน(Exchange) การติดต่อธุรกิจ(Transaction) ความสัมพันธ์ (Relationship)

  26. การตลาดส าหรับสินค้าเกษตร

  27. การตลาดของสินค้าเกษตรการตลาดของสินค้าเกษตร ห่วงโซ่อุปทาน(Supply Chain) ของสินค้าเกษตร

  28. ห่วงโซ่อุปทานของสินค้าเกษตรห่วงโซ่อุปทานของสินค้าเกษตร Supply Chain คือ กระบวนการตั้งแต่ เริ่มหาวัตถุดิบมาผลิต จนกระทั่งสินค้าถูก ส่งไปจนถึงมือลูกค้า ซึ่งทุกกิจกรรมจะมี ความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน จึงเป็นที่มา ของชื่อ Supply Chain (ซัพพลายเชน) หรือ ห่วงโซ่อุปทาน ผู้ผลิต ผู้บริโภค การตลาด

  29. ห่วงโซ่อุปทานของสินค้าเกษตรห่วงโซ่อุปทานของสินค้าเกษตร 1. ตลาดสินค้าเกษตร (Farm Outlet) 2. ตลาดชุมชน 3. ตลาดต้องชม 4. ตลาดกลาง ตลาดท้องถิ่น Farmer Market ผู้ผลิต งานแฟร์ โซเชียลมีเดี่ย อี คอมเมิร์ส ผู้บริโภค การตลาด ค้าปลีก ค้าส่ง จัดส่งถึงบ้าน ร้านอาหาร

  30. ห่วงโซ่อุปทานของสินค้าเกษตรห่วงโซ่อุปทานของสินค้าเกษตร B to C ตลาดท้องถิ่น Farmer Market Business to Consumer จากผู้ผลิตถึงผู้บริโภค 1. ตลาดสินค้าเกษตร (Farm Outlet) 2. ตลาดชุมชน 3. ตลาดต้องชม 4. ตลาดกลาง งานแฟร์ โซเชียลมีเดี่ย อี คอมเมิร์ส การตลาด B to B ค้าปลีก ค้าส่ง Business to Businessจาก ผู้ผลิตถึงคนกลาง จัดส่งถึงบ้าน ร้านอาหาร

  31. ห่วงโซ่อุปทานของสินค้าเกษตรห่วงโซ่อุปทานของสินค้าเกษตร Z B to C ผู้บริโภคมองหาอะไร • ความสะอาด ปลอดภัย • คุณประโยชน์ต่างๆ ที่ดีต่อสุขภาพ • ราคาที่จ่ายได้ คุ้มค่าเงิน • ขนาด ปริมาณ และ หีบห่อที่เหมาะสม • ความรู้สึกที่ได้ช่วยให้โลกนี้ดีขึ้น Business to Consumer จากผู้ผลิตถึงผู้บริโภค B to B Business to Businessจาก ผู้ผลิตถึงคนกลาง คนกลางมองหาอะไร • ความเชื่อถือได้ ความสม ่าเสมอ คุณภาพ ปริมาณ • การขนส่งสินค้า การตรงต่อเวลา • การตัดแต่ง การบรรจุ ที่ตรงตามต้องการ • ราคาที่เป็นธรรมทั้งสองฝ่าย • ฯลฯ

  32. เราเข้าใจผู้บริโภคปลายทางแค่ไหน ?

  33. เราเข้าใจผู้บริโภคปลายทางแค่ไหน ?

  34. หลักการตลาดเบื้องต้น

  35. หลักการตลาดเบื้องต้น 2. ส่วนประกอบทางการตลาด Marketing Mix 1. กระบวนการในท าการตลาด STP T P S Targeting Segmentation Positioning 2.ราคา 1.สินค้า 4 Ps การแบ่งกลุ่มผู้บริโภค การก าหนดกลุ่มเป้าหมาย การวางต าแหน่งสินค้า 4.การโฆษณา ส่งเสริมการขาย 3.ช่องทางการขาย 3.การสร้างแบรนด์ Brand Building

  36. 1. กระบวนการในท าการตลาด STP T P S Positioning Targeting Segmentation การแบ่งกลุ่มผู้บริโภค การก าหนดกลุ่มเป้าหมาย การวางต าแหน่งสินค้า

  37. Segmentation = การแบ่งกลุ่มผู้บริโภค

  38. าไมต้องแบ่งกลุ่มผู้บริโภค

  39. วิธีการท าตลาดในอดีต สินค้า ผู้ผลิต ผู้บริโภค

  40. แต่ปัจจุบัน สิ่งต่างๆเปลี่ยนแปลงไปมาก….

  41. แต่ปัจจุบัน สิ่งต่างๆเปลี่ยนแปลงไปมาก….

  42. ผู้บริโภคไม่ใช่กลุ่มคนที่เหมือนๆกัน แต่มีความแตกต่างหลากหลาย

  43. ผู้หญิง อายุ 25-35 ผู้หญิง อายุ 25-35

  44. วิธีการท าตลาดในปัจจุบันและอนาคต ลูกค้าต้องมาก่อน ลูกค้า สินค้า

  45. าไมต้องแบ่งกลุ่มผู้บริโภค

  46. าไมต้องแบ่งกลุ่มผู้บริโภค • เพราะผู้บริโภคแต่ละกลุ่ม ไม่เหมือนกัน เป็นไปไม่ได้ที่เราจะท าให้สินค้าของเราถูกใจคนทุกกลุ่ม • เราจึงต้องเลือกว่าเราจะขายใคร แล้วรู้จักผู้บริโภคกลุ่มนั้นให้ได้มากที่สุด • เพื่อที่เราจะได้ ผลิตสินค้าได้ตรงกับความชอบ ความต้องการของเขามากที่สุด • หรืออาจจะท าให้เราพบช่องว่างทางการตลาดใหม่ๆ ที่ยังไม่มีผู้ผลิตรายใด ท าสินค้าที่ผู้บริโภคต้องการได้

  47. การจัดกลุ่มผู้บริโภค • ในโลกยุคใหม่ เป็นการยากที่จะจัดกลุ่มผู้บริโภค เพราะผู้บริโภคมีความ ซับซ้อนมากขึ้น มีมิติที่หลากหลายขึ้น • ถ้าเช่นนั้นแล้ว เราจะเราจะใช้หลักการอะไรในการช่วยจัดกลุ่มผู้บริโภค ประชากรศาสตร์ + ความคิด ความเชื่อ และพฤติกรรมการใช้ชีวิต

  48. การแบ่งกลุ่มตามอายุ อายุ เหตุการณ์ส าคัญ ทัศนคติในชีวิต สูงวัย สงครามโลกครั้งที่2 เศรษฐกิจถดถอย การท างานตามแบบแผน 73+ หลังสงคราม (Baby Boomers) เกิดหลังสงครามโลกครั้งที่2 เศรษฐกิจรุ่งเรือง สงครามเวียดนาม 14 ตุลาคม “งานคือชีวิต” การประสบความส าเร็จ ในชีวิต 55- 73 (เกิดระหว่างปี 1946-1964) เจนเนอเรชั่น X เศรษฐกิจถดถอย การก่อการร้าย ยาเสพย์ติด โรคเอดส์ สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม “สมดุลชีวิต” งานและชีวิตส่วนตัว ให้ความส าคัญกับครอบครัว การเป็นเจ้านายตัวเอง ~40- 54 เจนเนเรชั่น Y เทคโนโลยี มีเดีย อินเตอร์เน็ท ความรุนแรง การก่อการร้าย ยาเสพย์ติด โรคเอดส์ สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม ~30-39 การเป็นตัวของตัวเอง ให้ความส าคัญกับ ปัจเจกบุคคล เจนเนชั่น Z <29

  49. ช่วงอายุ อายุ ช่วงชีวิต ทารก Infancy แบเบาะ เรียนรู้ 0-7 วัยทวีน Tween มีเพื่อน เข้าสังคม 8-12 วัยรุ่น Teen เป็นตัวของตัวเอง แปรปรวน ติดเพื่อน 13-19 วัยผู้ใหญ่ตอนต้น Young Adults เริ่มท างาน เริ่มมีคู่ 20-29 วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง Adult สร้างครอบครัว 30-39 วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย Maturity หน้าที่การงาน ความรับผิดชอบต่อครอบครัว 40-49 วัยใกล้เกษียณ Senior สู่จุดสูงสุดของอาชีพ เตรียมตัวเกษียณ 50-59 วัยเกษียณ Old Age อิสรภาพ ชีวิตใหม่ 60-74 วัยชรา Very Old Age โดดเดี่ยว เจ็บไข้ พึ่งพา 75

  50. สัดส่วนประชากรในประเทศไทย แบ่งตามอายุ ปี 2000 -2025 50 0-14 45 0-14 45.1 15-24 43.1 40 25-44 38.3 35 45-59 60+ 30 28.8 20% 25 20 15 18% 60+ 10 7.3 5.4 5 4.9 4.5 0 1960 1970 1980 1990 2000 2005 2010 2015 2525 2000 2005 2010 2015 2525 ช่วงอายุ 100% 100% 100% 100% 100% 24.7 23.0 21.2 20.2 18.0 0-14 26.3 24.6 23.5 22.0 19.5 15-24 แหล่งข้อมูล : ส ำนักงำนพัฒนำกำร เศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ 25.2 25.0 24.1 22.9 21.4 25-44 14.4 17.1 19.5 21.1 21.1 45-59 9.4 10.3 11.7 11.7 20.0 60+

More Related