440 likes | 556 Views
รู้จักกับโลกของ. โฮมเพจ & เว็บไซต์. เนื้อหา. อะไรคือโฮมเพจ อะไรคือเว็บไซต์ เราสามารถสร้างโฮมเพจด้วยวิธีการอย่างไรบ้าง ก้าวสู่โลกของโฮมเพจและเว็บไซต์ ทำอย่างไรให้โฮมเพจดูดี. อะไรคือโฮมเพจ อะไรคือเว็บไซต์. โฮมเพจ. คือ คำที่ใช้เรียกหน้าแรกของเว็บไซต์ คล้ายกับหน้าปกนิตยสาร.
E N D
รู้จักกับโลกของ โฮมเพจ & เว็บไซต์
เนื้อหา • อะไรคือโฮมเพจ อะไรคือเว็บไซต์ • เราสามารถสร้างโฮมเพจด้วยวิธีการอย่างไรบ้าง • ก้าวสู่โลกของโฮมเพจและเว็บไซต์ • ทำอย่างไรให้โฮมเพจดูดี
อะไรคือโฮมเพจ อะไรคือเว็บไซต์
โฮมเพจ • คือ คำที่ใช้เรียกหน้าแรกของเว็บไซต์ คล้ายกับหน้าปกนิตยสาร
เว็บเพจ (Web Page) • คือ คำที่ใช้เรียกหน้าเอกสารต่างๆ ที่อยู่ในรูปแบบไฟล์ HTML (Hyper TextMarkup Language)
เว็บไซต์ (Web Site) โฮมเพจ + เว็บเพ็จ = เว็บไซต์
ความเหมือนที่แตกต่างของโฮมเพจและเว็บไซต์ความเหมือนที่แตกต่างของโฮมเพจและเว็บไซต์ • สามารถเรียกได้ทั้ง 2 ชื่อ แต่นิยมเรียกไซต์ที่ไม่ได้จดทะเบียนและไม่มีชื่อโดเมน (Domain Name) เป็นของตนเองว่า “โฮมเพจ” เช่น http://www.geocities.com/titaratคือชื่อโฮมเพจที่ฝากไว้ที่เว็บไซต์ของ www.geocities.com
เราสามารถสร้างโฮมเพจด้วยวิธีการอย่างไรบ้างเราสามารถสร้างโฮมเพจด้วยวิธีการอย่างไรบ้าง
การสร้างโฮมเพจมีอยู่ 3 วิธีใหญ่ๆ • สร้างโฮมเพจด้วยโปรแกรมของ Web Hosting • ใช้โปรแกรมสำหรับสร้างเว็บไซต์ • การใช้ภาษา HTML และ JavaScript
1. สร้างโฮมเพจด้วยโปรแกรมของ Web Hosting http://www.geocities.yahoo.com
2. ใช้โปรแกรมสำหรับสร้างเว็บไซต์ • Frontpage • Golive • Home Site • Dreamweaver
ก้าวสู่โลกของโฮมเพจและเว็บไซต์ก้าวสู่โลกของโฮมเพจและเว็บไซต์
ประเภทของเว็บไซต์ในปัจจุบันประเภทของเว็บไซต์ในปัจจุบัน • เว็บไซต์ส่วนตัว (โฮมเพจ) • เว็บไซต์ให้ความรู้และความบันเทิง • เว็บไซต์เพื่อการบริการ • เว็บไซต์เพื่อการค้นหา (Search Engine)
1. เว็บไซต์ส่วนตัว (โฮมเพจ)
2. เว็บไซต์ให้ความรู้และความบันเทิง http://www.kapook.com/ http://www.pantip.com
3. เว็บไซต์เพื่อการบริการ http://www.hotelsthailand.com/ http://www.amazon.com/
4. เว็บไซต์เพื่อการค้นหา (Search Engine) http://www.google.co.th/ http://www.sanook.com/
ทำอย่างไรให้โฮมเพจดูดีทำอย่างไรให้โฮมเพจดูดี
ทำอย่างไรให้โฮมเพจดูดีทำอย่างไรให้โฮมเพจดูดี • เลือกใช้สีให้เหมาะสม • มีความเป็นเอกลักษณ์ • ต้องสามารถใช้งานได้อย่างเหมาะสม • สามารถแสดงผลได้อย่างรวดเร็ว
1. เลือกใช้สีให้เหมาะสม • สีแต่ละสีมีผลต่ออารมณ์และความรู้สึกกับผู้ที่เข้ามาชม
Color Chart สีฟ้า สีเทา-ขาว สีแดง สีส้ม สีน้ำเงิน สีเหลือง สีเขียว
โทนสีเดียว : สีฟ้า • เป็นสีของท้องฟ้า น้ำ ทำให้รู้สึกสบายใจ นุ่มนวล อบอุ่น • มีสีฟ้าหลายโทน ให้ความรู้สึกต่างๆกัน
สีน้ำเงิน • ให้ความรู้สึกขึงขัง จริงจัง น่าเชื่อถือ เป็นการเป็นงาน ปลอดภัย หรูหรา มีระดับ มีราคา • สีน้ำเงินระดับต่างๆ ให้ความรู้สึกแตกต่างกัน
สีเขียว • ให้ความรู้สึกเป็นอิสระ สดชื่น เย็นสบาย • สีเขียวระดับต่างๆ ให้ความรู้สึกแตกต่างกัน
สีแดง • ให้ความรู้สึกร้อนแรง มีพลัง • สีแดงระดับต่างๆ ให้ความรู้สึกแตกต่างกัน
สีส้ม-เหลือง • ให้อารมณ์สดใส ตื่นตัว ดึงดูด เป็นสีของอาหาร อาจกระตุ้นให้รู้สึกหิว • สีเหลืองส้มระดับต่างๆ ให้ความรู้สึกแตกต่างกัน
สีเหลือง สีส้ม
โทนสีเดียว: สีเทา-ขาว • สีเทาให้ความรู้สึก สุขุม สงบ มั่นคง อาจทำให้รู้สึกหม่นหมอง หรือเศร้า • สีขาว ให้ความรู้สึกสะอาด บริสุทธิ์ • สีขาว-เทาหลายโทน ให้ความรู้สึกต่างๆกัน
2. มีความเป็นเอกลักษณ์ • ใช้สีฟอนต์และภาพประกอบที่มีความคล้ายคลึงกันในทุกๆ หน้าของเว็บไซต์ • ควรมีจุดสนใจอื่นๆ เป็นส่วนประกอบด้วย เช่น โลโก้ เป็นต้น
เมนูบทความน่าสนใจ เมนูกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันควบคุมโรค
3. ต้องสามารถใช้งานได้อย่างเหมาะสม • เว็บที่ซับซ้อน ทำให้ผู้ใช้บริการไม่อยากกลับมาใช้อีก
4. สามารถแสดงผลได้อย่างรวดเร็ว • การแสดงผลที่รวดเร็วทำให้เว็บไซต์ไม่น่าเบื่อ • ยิ่งมีภาพประกอบมากเวลาในการแสดงผลก็จะยิ่งมาก
พฤติกรรมผู้ใช้เว็บ • 85% ของผู้ใช้จะไม่อ่านข้อความจนจบ • 10% ของผู้ใช้ ไม่เคยเลื่อน scroll bar เพื่อดูส่วนล่างของจอ • ผู้ใช้ไม่ทนต่อการรอดาวน์โหลดหน้า ที่นานเกินไป • ผู้ใช้ชอบให้จัดหาตัวเลือก, navigation ที่ชัดเจน แต่มักจะไม่ค่อยใช้กันนัก ที่มา : เว็บไซต์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย http://pioneer.netserv.chula.ac.th
“วันนี้คุณเข้าไปดูเว็บไซต์ของสำนักของเราบ้างหรือยัง?”“วันนี้คุณเข้าไปดูเว็บไซต์ของสำนักของเราบ้างหรือยัง?”