E N D
รายงานผลการดำเนินงานการประเมินผลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานครประจำปี 2554An Assessment on Quality of Care among Patients Diagnosed with Type 2 Diabetes and Hypertension Visiting Ministry of Public Health and Bangkok Metropolitan Administration Hospitals in Thailand2011
วัตถุประสงค์ของโครงการวัตถุประสงค์ของโครงการ • เพื่อประเมินผลการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และหรือโรคความดันโลหิตสูงจากเวชระเบียนผู้ป่วยตามเกณฑ์มาตรฐานของหน่วยบริการในเครือข่ายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า • เพื่อเปรียบเทียบผลการประเมินการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และหรือโรคความดันโลหิตสูงจากเวชระเบียนผู้ป่วยตามเกณฑ์มาตรฐานของหน่วยบริการในเครือข่ายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปีพ.ศ. 2554 – 2555 กับผลการประเมินการดูแลรักษาของปีที่ผ่านมา • เพื่อหาความชุกของผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และโรคความดันโลหิตสูงที่เข้ารับการรักษาในหน่วยบริการในเครือข่ายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีความสมบูรณ์ ครอบคลุมมากกว่าที่ได้ดำเนินการในปี 2553
หลักการและเหตุผล • การประเมินผลลัพธ์ทางคลินิก ของการรักษาผู้ป่วย DM และ HT • ระบุผลลัพธ์พื้นฐาน และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหาของการดำเนินการ • ใช้เป็นระดับอ้างอิงในการพัฒนาบริการ แบบระยะยาวต่อไป
รูปแบบการวิจัย • การศึกษาแบบตัดขวาง (Cross-Sectional Study) โดยการทบทวนเวชระเบียนผู้ป่วยแล้วบันทึกผล
บันทึกผลตาม • ตัวชี้วัดผลลัพธ์การให้บริการตามมาตรฐานการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โดย Toward Clinical Excellence’s Network (TCEN) จำนวน 19 รายการ • ตัวชี้วัดผลลัพธ์การให้บริการตามมาตรฐานการดูแลรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูง โดย สปสช.จำนวน 6 รายการ
ระยะเวลาในการดำเนินโครงการระยะเวลาในการดำเนินโครงการ • มกราคม 2554 – ธันวาคม 2554 รวม 12 เดือน • ระยะเวลาการเก็บข้อมูลผู้ป่วย 14 สิงหาคม - 30 กันยายน 2554
สถานที่ทำวิจัย • สถานที่ทำวิจัย โรงพยาบาลในเครือข่ายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในแต่ละจังหวัดทั่วประเทศได้แก่ โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) โรงพยาบาลทั่วไป (รพท.) และโรงพยาบาลชุมชน (รพช.)และโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร • จำนวน 600 แห่งทั่วประเทศ
เกณฑ์การคัดเลือกกลุ่มประชากรเข้าร่วมการศึกษา (Inclusion Criteria) • ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และหรือโรคความดันโลหิตสูงที่เข้ามารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและสังกัดกรุงเทพมหานครซึ่งอยู่ในเครือข่ายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในแต่ละจังหวัดเป็นเวลามากกว่าเท่ากับ 1 ปีขึ้นไป • เพศชายหรือหญิงที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไปทีมีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์และไม่มีอาการเจ็บป่วยทางจิต • ให้ความยินยอมเข้าร่วมโครงการโดยการลงนามในเอกสารขอความยินยอมจากอาสาสมัครก่อนเริ่มกระบวนการวิจัย
ขั้นตอนการเก็บข้อมูลในโรงพยาบาลที่เข้าร่วมขั้นตอนการเก็บข้อมูลในโรงพยาบาลที่เข้าร่วม • ดำเนินการเลือกเวชระเบียน โดยเลือกเวชระเบียนจากฐานข้อมูลผู้ป่วยมาตรวจรักษาตามนัดในช่วงวันที่ 15 มิถุนายน – 15 สิงหาคม 2554 และเก็บข้อมูลไปตามลำดับผู้ป่วยที่มาตามนัดจนครบตามจำนวนที่กำหนดในแต่ละโรคของแต่ละโรงพยาบาล โดยไม่มีการข้ามเวชระเบียน ยกเว้นผู้ป่วยไม่มาตามนัดและไม่สามารถติดตามผู้ป่วยให้มารักษาต่อเนื่องได้ • ชี้แจงเกี่ยวกับโครงการและขอความยินยอมจากผู้ป่วยโดยลงนามแสดงความยินยอมในเอกสารที่เตรียมไว้ • บันทึกข้อมูลผู้ป่วยโดยการทบทวนเวชระเบียนตามแบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วย (CRF) โดยจะเก็บข้อมูลผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 คู่ขนานกันกับการเก็บข้อมูลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงให้ได้จำนวนตามที่กำหนดในแต่ละโรค (แยกเก็บ) • ทั้งนี้การดำเนินการต้องบันทึกตามความเป็นจริงที่ปรากฏในเวชระเบียนทั้งที่เป็นกระดาษหรืออิเลคทรอนิกส์ หรือฐานข้อมูลนอกจากเวชระเบียน กำหนดระยะเวลาให้แต่ละหน่วยบริการเก็บข้อมูลนาน 2 เดือน
จำนวนโรงพยาบาลที่ทำการศึกษาจำนวนโรงพยาบาลที่ทำการศึกษา จำนวนทั้งสิ้นจำนวน 600 โรงพยาบาล ส่วนภูมิภาคจำนวน 548 โรงพยาบาล • รพศ. 25 แห่ง • รพท.69 แห่ง • รพช. 454 แห่ง กรุงเทพมหานคร จำนวน 52 โรงพยาบาล • กระทรวงสาธารณสุข 2 แห่ง • กรุงเทพมหานคร 4 แห่ง • รพ.เอกชน 10 แห่ง • คลินิกเอกชน 36 แห่ง
จำนวนอาสาสมัครที่เข้าร่วมโครงการจำนวนอาสาสมัครที่เข้าร่วมโครงการ จำนวนอาสาสมัครที่เข้าร่วมโครงการวิจัยทั้งสิ้น 59,750 ราย • รพ.ศูนย์ จำนวน 7,265 ราย (ร้อยละ 12.2) • รพ.ทั่วไป จำนวน 11,810 ราย (ร้อยละ 19.8) • รพ.ชุมชนจำนวน 38,404 ราย (ร้อยละ 64.3) • รพ. ในเขตกทม. จำนวน 2,271ราย (ร้อยละ 3.8)
ข้อมูลพื้นฐานประชากร ปี 2553 และ2554
ผลการศึกษาตามตัวชี้วัดในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงผลการศึกษาตามตัวชี้วัดในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ผลการศึกษาตามตัวชี้วัดในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงผลการศึกษาตามตัวชี้วัดในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ผลการศึกษาตามตัวชี้วัดในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงผลการศึกษาตามตัวชี้วัดในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
รายงานผลตามตัวชี้วัดเปรียบเทียบระหว่างปี 2553 และ 2554
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มี FPG = 70-130 mg/dL(อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้) จำแนกตามเขต สปสช.ปี 2554
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มี FPG 70-130 mg/dLอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ จำแนกตามเขต สปสช.เปรียบเทียบปี2553 - 2554
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีระดับ HbA1c< 7%จำแนกตามเขต สปสช.ปี 2554
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีระดับ HbA1c< 7%จำแนกตามเขต สปสช.เปรียบเทียบปี 2553 - 2554
ร้อยละของการมีระดับ HbA1C < 7% จำแนกตามสิทธิการรักษา P < 0.001* * Adjusted for Level of hospital, BMI, Sex, DM duration, Age, HT comorbid, and UC area
ร้อยละของการมีระดับ HbA1C < 7% จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาล P = 0.10* * Adjusted for Health Plan, BMI, Sex, DM duration, Age, HT comorbid, and UC area
ปัจจัยที่มีผลต่อการมีระดับ HbA1C > 7% * Adjusted for BMI, Sex, DM duration, Age, HT comorbid, and UC area
ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมระดับ HbA1C • ผู้ป่วยอายุมาก คุมระดับ HbA1C ได้ดีกว่าผู้ป่วยอายุน้อย • ผู้ที่เป็น DM มานาน คุมระดับ HbA1C ได้ดีกว่า • เพศชาย คุมระดับ HbA1C ได้ดีกว่า เพศหญิง • BMI สูงขึ้น หรือ ต่ำมาก คุมระดับ HbA1C ได้ไม่ดี • เขตพื้นที่บริการ สัมพันธ์กับการคุมระดับ HbA1C
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีระดับความดันโลหิต ≤130/80 mmHg จำแนกตามสิทธิการรักษา
การตรวจจอประสาทตาและช่องปากการตรวจจอประสาทตาและช่องปาก
ผลการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูงผลการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่สามารถควบคุมความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม จำแนกตามสิทธิการรักษา P = 0.43* * Adjusted for Level of hospital, BMI, Sex, HT duration, Age, DM comorbid, and UC area
ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่สามารถควบคุมความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาล P < 0.001* * Adjusted for Health Plan, BMI, Sex, HT duration, Age, DM comorbid, and UC area
ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่สามารถควบคุมความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมจำแนกตามเขต สปสช. ปี2554
ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่สามารถควบคุมความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมจำแนกตามเขต สปสช. ปี2553 - 2554
ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมความดันโลหิตปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมความดันโลหิต • ระดับของโรงพยาบาล รพช. > รพท. > รพศ. • สิทธิการรักษา ไม่มีผลต่อการควบคุมระดับความดันโลหิต • อายุผู้ป่วย ไม่มีผลต่อการควบคุมระดับความดันโลหิต • เพศหญิงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีกว่าเพศชายเล็กน้อย • ระดับ BMI ที่สูงขึ้นควบคุมระดับความดันโลหิตได้ยากกว่า • ระยะเวลาที่เป็นโรคความดันโลหิตที่มากขึ้นจะควบคุมได้ยากขึ้น • เขตพื้นที่บริการสัมพันธ์กับผลการควบคุมความดันโลหิต
ร้อยละของการมีระดับ Fasting blood sugar อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ 70-130 mg/dLในผู้ป่วย Type 2 DM จำแนกตามเขตและจังหวัด
ร้อยละของการมีระดับ FPG อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ 70-130 mg/dLในผู้ป่วย Type 2 DM จำแนกตามเขต
ร้อยละของการมีระดับFPG อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ 70-130 mg/dLในผู้ป่วย Type 2 DM ของเขต 3 จำแนกตามจังหวัด
ร้อยละของการมีระดับFPG อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ 70-130 mg/dLในผู้ป่วย Type 2 DM ของเขต 4 จำแนกตามจังหวัด
ร้อยละของการมีระดับFPG อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ 70-130 mg/dLในผู้ป่วย Type 2 DM ของเขต 5 จำแนกตามจังหวัด