1 / 22

นายอารักษ์ ชัยกุล ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาสิ่งแวดล้อมด้านการปศุสัตว์

โครงการการจัดการของเสียในฟาร์มปศุสัตว์ในภาคพื้น เอเชียตะวันออก ( Livestock Waste Management in East Asia ). นายอารักษ์ ชัยกุล ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาสิ่งแวดล้อมด้านการปศุสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์. ความเป็นมาโครงการการจัดการของเสียในฟาร์มปศุสัตว์ ในภาคพื้นเอเชียตะวันออก.

Download Presentation

นายอารักษ์ ชัยกุล ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาสิ่งแวดล้อมด้านการปศุสัตว์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการการจัดการของเสียในฟาร์มปศุสัตว์ในภาคพื้นโครงการการจัดการของเสียในฟาร์มปศุสัตว์ในภาคพื้น เอเชียตะวันออก (Livestock Waste Management in East Asia) นายอารักษ์ ชัยกุล ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาสิ่งแวดล้อมด้านการปศุสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

  2. ความเป็นมาโครงการการจัดการของเสียในฟาร์มปศุสัตว์ความเป็นมาโครงการการจัดการของเสียในฟาร์มปศุสัตว์ ในภาคพื้นเอเชียตะวันออก เป็นความร่วมมือของกองทุนสิ่งแวดล้อมโลกโดยให้เงินช่วยเหลือแก่ประเทศ ไทย จีน และเวียดนาม ในการจัดการของเสียจากฟาร์มสุกร แต่ละประเทศได้รับเงินช่วยเหลือจากกองทุนสิ่งแวดล้อมโลก (GEF) จำนวน ๒ ล้านเหรียญสหรัฐ ระยะเวลาดำเนินการโครงการ ๕ ปี ตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๔

  3. วัตถุประสงค์ของโครงการการจัดการของเสียในฟาร์มปศุสัตว์ในภาคพื้นเอเชียตะวันออกวัตถุประสงค์ของโครงการการจัดการของเสียในฟาร์มปศุสัตว์ในภาคพื้นเอเชียตะวันออก เพื่อลดมลภาวะอันเนื่องมาจากของเสียจากการผลิตปศุสัตว์ต่อแหล่งน้ำธรรมชาติ น้ำผิวดิน น้ำใต้ดิน สุขอนามัยของประชาชน ตลอดจนเพื่อการจัดการของเสียที่เหมาะสมและได้มาซึ่งประโยชน์ต่อจากของเสียด้านการปศุสัตว์ ได้แก่ ปุ๋ยจากมูลสัตว์ พลังงานจากก๊าซชีวภาพ การใช้ประโยชน์จากน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดแล้วสำหรับพืชที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ

  4. ตัวชี้วัดของโครงการ • เป้าหมายจำนวนสุกรในโครงการ ปี 2549 จำนวน 35,000ตัว ปี 2550จำนวน 77,000 ตัว ปี 2551 จำนวน 119,00 ตัว ปี 2552 จำนวน 161,000 ตัว ปี 2553 จำนวน 203,000 ตัว • มลพิษจากแหล่งการผลิตปศุสัตว์ในพื้นที่โครงการลดลงและผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด • มีแผนการส่งเสริมและพัฒนาด้านการจัดการของเสียการปศุสัตว์พร้อมการปฏิบัติตามแผน • มีมาตรการจัดการของเสียด้านด้านการปศุสัตว์และสามารถบังคับใช้ใน ปี 2553

  5. ตัวชี้วัดของโครงการ • มีแผนภูมิสารสนเทศสิ่งแวดล้อมด้านการปศุสัตว์ • มีแผนการจัดการสารอาหาร • สามารถลดความเสี่ยงด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนจากเชื้อโรค ยาปฏิชีวนะ สารตกค้างจากฟาร์มปศุสัตว์ โดยฟาร์มที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดความเสี่ยงดังกล่าวในปี 2549 ลดลงร้อยละ 10 ปี 2550 ลดลงร้อยละ 20 ปี 2551 ลดลงร้อยละ 30 ปี 2552 ลดลงร้อยละ 40 และปี 2553 ลดลงร้อยละ 50 • เกิดความตื่นตัว มีจิตสำนึกด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออก

  6. องค์ประกอบของโครงการ องค์ประกอบที่1 การสาธิตเทคโนโลยีด้านการจัดการน้ำเสียในฟาร์มปศุสัตว์ สาธิตระบบการจัดการของเสียในฟาร์มให้แก่เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ ได้แก่ ระบบบำบัดน้ำเสีย การเพิ่มมูลค่าของเสียโดยการนำไปใช้ประโยชน์ด้านต่างๆอย่างเหมาะสม เป็นต้น

  7. องค์ประกอบของโครงการ (ต่อ) องค์ประกอบที่ 2 การพัฒนาด้านนโยบายและยุทธศาสตร์การขยายผล - เพื่อพัฒนานโยบายและการทดสอบ และ การยกระดับความรู้ - พัฒนาระเบียบปฏิบัติการผลิตปศุสัตว์บนพื้นฐานของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และนำมาใช้ระดับฟาร์ม - พัฒนาและดำเนินการมาตรการทางนโยบายที่มุ่งเน้นสภาพทางภูมิศาสตร์ ของการผลิตปศุสัตว์ที่หนาแน่นในอนาคต - ทบทวนระเบียบเดิมและปรับปรุงใหม่

  8. องค์ประกอบของโครงการ - ดำเนินการพัฒนาและด้านการประยุกติการนำของเสียมาใช้ประโยชน์และ มาตรฐานน้ำทิ้ง - จูงใจและโน้มนำเกษตรกรให้ปรับปรุงการผลิตตามนโยบายและระเบียบที่ดี ซึ่งผ่านการทดสอบแล้ว - การจูงใจและโน้มนำเกษตรกรให้ปรับปรุงจะดำเนินการโดยกระบวนการพัฒนาและทดสอบของยุทธศาสตร์การขยายผล และมาตรการอื่นๆซึ่งจะมีหลายแบบขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในแต่ละประเทศ - สนับสนุนกิจกรรมต่างๆ เพื่อยกระดับการพัฒนา การทดสอบและการดำเนินการของยุทธศาสตร์การขยายผลที่เน้นด้านมาตรการทางนโยบาย ประเด็นด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวพันกับการจัดการมูลสัตว์ที่ไม่เพียงพอ

  9. องค์ประกอบของโครงการ (ต่อ) องค์ประกอบที่ 3 การจัดการและการติดตามผล 1. การจัดการโครงการและ 2. การติดตาม ประเมินผล - จัดตั้ง คณะทำงานโครงการ คณะกรรมการกำกับ ดูแลโครงการระดับชาติเพื่อบริหารจัดการโครงการให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ - ดำเนินการติดตามประเมินผลทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและความเสี่ยงด้านสุขภาพและด้านอื่นๆ อันเนื่องมาจากโครงการ โดยเน้นมาตรการลดการติดต่อจากเชื้อโรค ยาปฏิชีวนะและเชื้อ้ที่ดื้อยาและติดต่อมนุษย์ได้ องค์ประกอบที่ 4 ส่วนสนับสนุนระดับภูมิภาค องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO)

  10. โครงสร้างการจัดการโครงการโครงสร้างการจัดการโครงการ • คณะทำงานระดับภูมิภาค(Regional Committee Group, RCG) ทำงานประสานกับ FAO เพื่อประสานงานระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออก • คณะกรรมการกำกับดูแลโครงการ (National Steering Committee, NSC) ซึ่งจัดตั้งโดยกรมปศุสัตว์ ประกอบด้วยคณะกรรมการจากหน่วยงานต่างๆ 4 กระทรวง 9 กรม เพื่อกำกับโครงการให้เป็นไปตามเป้าหมายและข้อตกลงโครงการ • คณะทำงานโครงการ(Project Management Office, PMO) คือคณะทำงานจัดตั้งโดยกรมปศุสัตว์ เพื่อดำเนินงานประจำวันให้บรรลุวัตถุประสงค์โครงการ • สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด (Provincial Livestock Office, PLO)

  11. ความคืบหน้า • โครงการผ่านการประเมินจากกองทุนสิ่งแวดล้อมโลก (กุมภาพันธ์ 2548) • ประชุมเจรจาเพื่อจัดทำบันทึกข้อตกลงการรับความช่วยเหลือแบบให้เปล่าจากกองทุนสิ่งแวดล้อมโลก ระหว่างธนาคารโลก ประเทศที่เข้าร่วมโครงการฯ และ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (มกราคม 2549) • วันที่ 15 พฤษภาคม 2549 ได้มีการลงนามบันทึกข้อตกลงระหว่างกระทรวงการคลังและธนาคารโลก

  12. ความคืบหน้า (ต่อ) • เริ่มต้นสำรวจและเตรียมการออกแบบระบบการจัดการของเสียในฟาร์มสาธิตที่ได้คัดเลือกไว้แล้วในจังหวัดชลบุรี ๑ แห่ง และจังหวัดราชบุรี ๑ แห่ง เพื่อนำร่องเป็นฟาร์มสาธิตด้านเทคโนโลยี • จัดทำแผนการอบรม • ยกร่างระเบียบการปฏิบัติที่ดีด้านสิ่งแวดล้อมฟาร์มสุกร • สำรวจข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม ก่อนและหลังการสร้างระบบบำบัดน้ำเสียฟาร์มสุกรสาธิต • จัดทำแผนการประยุกต์ใช้สารอาหารที่เหลือในน้ำเสียโดยนำไปเพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูลีนา

  13. ฟาร์มที่เข้าร่วมโครงการฟาร์มที่เข้าร่วมโครงการ

  14. ฟาร์มที่เข้าร่วมโครงการ จังหวัดชลบุรี สะอาดฟาร์ม เป็นฟาร์มสุกรขาดกลาง (มีจำนวนสุกร 2,000 ตัว) มีเนื้อที่ฟาร์ม 8 ไร่

  15. สะอาดฟาร์ม

  16. ฟาร์มที่เข้าร่วมโครงการ จังหวัดราชบุรี KOS ฟาร์ม เป็นฟาร์มสุกรขนาดใหญ่ (มีจำนวนสุกร 11,220 ตัว) มีเนื้อที่ ประมาณ 100 ไร่

  17. KOS ฟาร์ม

  18. ประโยชน์ที่คาดว่าประเทศไทยจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าประเทศไทยจะได้รับ • ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากมลพิษจากการปศุสัตว์ โดยเฉพาะสุกรซึ่งเป็นแหล่งมลพิษที่สำคัญ ในแต่ละปีรัฐต้องทุ่มงบประมาณนับเหมื่นล้านบาท เพื่อแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านระบบบำบัดน้ำเสียจากต่างประเทศ รวมถึงการสร้างเครือข่ายระหว่างประเทศในภูมิภาคเพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาในระดับภูมิภาคต่อไป • เพิ่มขีดความสามารถในการแข็งขันทางการค้า เนื่องจากข้อกีดกันด้านสิ่งแวดล้อมเป็นประเด็นสำคัญประเด็นหนึ่งของ Non Tariff Barrier ในเวทีโลก ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยส่งออกเนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์ เป็นมูลค่า1,400 ล้านบาท

  19. ประโยชน์ที่คาดว่าประเทศไทยจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าประเทศไทยจะได้รับ (ต่อ) • ของเสียที่ผ่านการบำบัดแล้วกลับมาใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ ทำให้ลดการนำเข้าปุ๋ยเคมีจากต่างประเทศ ซึ่งมีมูลค่าปีหนึ่งเกือบสองหมื่อนล้านบาท (18,2229.96 ล้านบาท ในปี 2543) เป็นการลดการขาดดุลการค้า และส่งเสริมทางด้านเกษตรอินทรีย์อีทางหนึ่งด้วย

  20. ประโยชน์ที่คาดว่าประเทศไทยจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าประเทศไทยจะได้รับ (ต่อ) • โครงการมีการส่งเสริมการนำก๊าซชีวภาพไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ไม่ว่าจะเป็นการปันกระแสไฟฟ้า หรือการนำไปใช้ในการหุงต้ม ซึ่งสอกคล้องกับนโยบายรัฐบาลในการใช้พลังงานทางเลือก สามารถลดการนำเข้าน้ำมันปิโตเลียมจากต่างประเทศ ซึ่งก๊าซชีวภาพผลิตได้ 1 ลบ.ม. นั้นมีพลังงานเทียบเท่าหรือทดแทนก๊าซหุงต้ม 0.46 กก. (คิดเป็นมูลค่าประมาณ 1.2 กิโลวัตต์/ชม. (คิดเป็นมูลค่าประมาณ 3.6 ล้านบาท) • น้ำที่ผ่านการบำบัดจากระบบยังสามารถนำมาใช้เป็นปุ๋ยน้ำสำหรับการเกษตร

  21. งบประมาณโครงการ (ระยะดำเนินการ 5 ปี)

  22. ขอบคุณมากครับ

More Related