1 / 126

วิทยาการระบาด กับงานสุขภาพจิต

วิทยาการระบาด กับงานสุขภาพจิต. กุลิสรา พิศาลเอก นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์สุขภาพจิตที่ 6. นโยบายกรมสุขภาพจิต ในการพัฒนางานระบาดวิทยาสุขภาพจิต. นพ.เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต กล่าวว่า บทบาทศูนย์สุขภาพจิต ต้องชี้ปัญหาในพื้นที่โดยใช้ข้อมูลของตนเอง ความเสี่ยง

nibaw
Download Presentation

วิทยาการระบาด กับงานสุขภาพจิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิทยาการระบาดกับงานสุขภาพจิตวิทยาการระบาดกับงานสุขภาพจิต กุลิสรา พิศาลเอก นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์สุขภาพจิตที่ 6

  2. นโยบายกรมสุขภาพจิต ในการพัฒนางานระบาดวิทยาสุขภาพจิต • นพ.เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต กล่าวว่า • บทบาทศูนย์สุขภาพจิต ต้องชี้ปัญหาในพื้นที่โดยใช้ข้อมูลของตนเอง • ความเสี่ยง • การบริการ “การวิเคราะห์และสังเคราะห์” • บุคลากร • มีทิศทางการนำเสนอ/ความน่าเชื่อถือของข้อมูล • ทำงานตามปัญหาในพื้นที่ เชื่อมโยงกับนโยบายกรมสุขภาพจิต

  3. สุขภาพจิตต่างกับจิตเวชอย่างไร?สุขภาพจิตต่างกับจิตเวชอย่างไร? • สุขภาพจิต (Mental Health) • คำนึงถึงปัญหาสุขภาพจิต (Mental Health Problems) • คำนึงถึงคนทั้งชุมชน (Population basis) • ให้ความสำคัญเรื่องส่งเสริมป้องกัน • จิตเวช (Psychiatry) • คำนึงถึงคนไข้รายบุคคล (Individual basis) • คำนึงถึงความผิดปกติทางจิต (Mental Disorders) • ให้ความสำคัญเรื่องการรักษา และฟื้นฟู (Treatment and Rehabilitation)

  4. การแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในอดีตการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในอดีต • อาศัยประสบการณ์ส่วนตัว หรือ สามัญสำนึก • เกิดความผิดพลาดในการสรุปความรู้จากประสบการณ์ • ค - คลาดเคลื่อน • อ - อคติ • ก - การกวน

  5. การแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในปัจจุบันการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในปัจจุบัน • ใช้ทฤษฎีและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ การวิจัย • มีคุณภาพ ลดความคลาดเคลื่อน และอคติ • ได้ข้อสรุปที่เที่ยงตรง • เป็นประโยชน์ต่อการวางแผนงาน และการปฏิบัติงาน

  6. หลักวิทยาการระบาด โรคติดเชื้อ โรคไร้เชื้อ อุบัติเหตุและการบาดเจ็บ พฤติกรรมและภาวะเสี่ยง นโยบายสาธารณสุข วิวัฒนาการวิทยาการระบาด ป้องกันและควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประชาชนมีสุขภาพดี และอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข (WHO)

  7. นิยามของวิทยาการระบาดนิยามของวิทยาการระบาด ศึกษาถึงการเกิดโรคการกระจายและปัจจัยกำหนด ของภาวะทางด้านสุขภาพ และเหตุการณ์ด้านสุขภาพ ในประชากรกลุ่มหนึ่งๆ และการประยุกต์ใช้วิทยาการระบาดในการควบคุมปัญหา Ref: Last JM, A dictionary of epidemiology. 3rd ed.,1995

  8. วัตถุประสงค์ของวิทยาการระบาดวัตถุประสงค์ของวิทยาการระบาด • เพื่อศึกษาการกระจายของโรคในชุมชน • เพื่อค้นหาสาเหตุหรือปัจจัยกำหนดของการเกิดโรคในชุมชน • เพื่อศึกษาธรรมชาติของการเกิดโรค • เพื่อประเมินผลวิธีการป้องกัน/รักษา และการบริการสุขภาพ • เพื่อพัฒนานโยบาย และการตัดสินใจเชิงนโยบาย วิทยาการระบาด ~ การวิจัย

  9. รูปแบบการศึกษาทางวิทยาการระบาดรูปแบบการศึกษาทางวิทยาการระบาด • เชิงพรรณนา (Descriptive study) • เพื่ออธิบายสภาวะโรค อาการ อาการแสดง • เพื่ออรรถาธิบายสถานการณ์ และความรุนแรง • เชิงวิเคราะห์ (Analytical study) • เพื่อค้นหาปัจจัยกำหนด หรือเป็นสาเหตุของสถานการณ์ สุขภาพนั้น • เชิงทดลอง (Experimental study) • ผู้ดำเนินการทดลองใส่ปัจจัยเข้าไปเอง เช่น โปรแกรมสุขภาพต่างๆ

  10. วิทยาการระบาดเชิงพรรณนาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนา • ศึกษาลักษณะการเกิดโรคในชุมชน (อะไร กับใคร ที่ไหน และเมื่อไร) • ศึกษาประชากรกลุ่มเดียว** ประโยชน์ • ทำให้ทราบปัญหาและความสำคัญของปัญหา • เพื่อใช้วางแผนป้องกันและควบคุมโรค/แผนบริการสุขภาพ ข้อสังเกต • ต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับการเกิดโรคอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และรวดเร็ว

  11. รูปแบบของวิทยาการระบาดเชิงพรรณนารูปแบบของวิทยาการระบาดเชิงพรรณนา • Case report รายงานรายป่วย • Case series รายงานกลุ่มป่วย • Prevalence survey การสำรวจ ณ ขณะนั้น • Ecological study (Correlational study)การศึกษานิเวศวิทยาหาความสัมพันธ์ของการเกิดโรคในกลุ่มประชากร กับปัจจัยเสี่ยง

  12. วิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์วิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์ • เพื่อทราบปัจจัยกำหนด หรือสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคในชุมชน (ทำไม และอย่างไร) รูปแบบ • การศึกษาแบบไปข้างหน้า (Prospective study) • การศึกษาแบบย้อนหลัง (Retrospective study) • การศึกษาภาคตัดขวาง (Cross-sectional study) หลักการ • ต้องมีกลุ่มเปรียบเทียบ** • ไม่มีการจัดกระทำตัวแปรสาเหตุ

  13. Prospective study ไม่ป่วย (A) มีปัจจัย ป่วย (B) กลุ่มศึกษา ไม่ป่วย (C) ไม่มีปัจจัย ป่วย (D)

  14. Retrospective study มีปัจจัย ป่วย ไม่มีปัจจัย กลุ่มศึกษา มีปัจจัย ไม่ป่วย ไม่มีปัจจัย

  15. Overview of Study design Cross – sectional Study sample Retrospective Prospective/Follow up Present Case – Control Study Cohort Study Past Future Time

  16. วิทยาการระบาดเชิงทดลองวิทยาการระบาดเชิงทดลอง • เพื่อทดสอบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ รูปแบบ • Experimental study ทดลองแบบสุ่ม/แบบเจตนา • Quasi-experimental study เลือกให้ปัจจัยกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง หลักการ • ต้องควบคุมตัวแปรสาเหตุอื่น • มีการจัดกระทำตัวแปรสาเหตุ • สังเกต วัดผล

  17. แนวคิดการเกิดโรคทางวิทยาการระบาดแนวคิดการเกิดโรคทางวิทยาการระบาด • โรคไม่ได้เกิดได้โดยบังเอิญ • โรคไม่ได้เกิดกับทุกคนอย่างเท่าเทียม • โรคต่างๆ สามารถป้องกันได้ • การป้องกันโรค ย่อมดีกว่าการรักษาโรค

  18. Epidemiologic Triad Host Time Agent Environment ในภาวะสมดุล Host Agent Envi

  19. การประยุกต์ใช้ในการป้องกันควบคุมโรคการประยุกต์ใช้ในการป้องกันควบคุมโรค • การส่งเสริมสุขภาพ Host เช่น เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน การจัดการด้านสุขศาสตร์ที่เหมาะสม • ควบคุมและกำจัดสิ่งที่ทำให้เกิดโรค เช่น การวินิจฉัยโรคที่รวดเร็วและทำการรักษาทันที การค้นหาและควบคุมพาหะ • ควบคุมและกำจัดสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม ร่วมกับการเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี

  20. รูปแบบการเกิดโรคในประชากรรูปแบบการเกิดโรคในประชากร • โรคที่เกิดขึ้นเป็นครั้งคราว (Sporadic disease) • โรคประจำถิ่น (Endemic disease) • โรคระบาด (Epidemic disease หรือ Outbreak) • การระบาดระยะสั้น (point epidemic หรือ common-source epidemic) • การระบาดแบบต่อเนื่อง (Propagate epidemic)

  21. ธรรมชาติการเกิดโรค หมายถึง วงจรการเกิดโรคตามธรรมชาติ มี 4 ระยะ คือ 1. ระยะมีความไวต่อการเกิดโรค (Stage of susceptibility) มีความไม่สมดุลขององค์ประกอบ แต่ยังไม่เกิดโรค 2. ระยะก่อนมีอาการของโรค (Stage of presymtomatic) มีพยาธิสภาพ 3. ระยะมีอาการของโรค (Stage of clinical disease) มีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะหรือหน้าที่ 4. ระยะสูญเสียความสามารถ (Stage of disability) สูญเสีย การทำงานของร่างกาย อาจชั่วคราว หรือถาวร

  22. ภูเขาน้ำแข็ง (Iceberg Phenomenon) Severe Moderate Mild 2-3o prevention ไม่เกิดอาการ 1o prevention เสี่ยง

  23. วิทยาการระบาดกับงานสาธารณสุขวิทยาการระบาดกับงานสาธารณสุข • การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด • การสอบสวนโรค/ภัยสุขภาพ • การศึกษาวิจัยทางวิทยาการระบาด

  24. การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาดการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด • นิยามการเฝ้าระวัง การติดตามสังเกต พินิจพิจารณา ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของการเกิด การกระจายของโรคหรือปัญหาสาธารณสุข รวมทั้ง ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนั้นๆอย่างต่อเนื่องด้วยกระบวนการที่ เป็นระบบเพื่อการวางแผน กำหนดนโยบายการปฏิบัติงาน และการประเมินมาตรการควบคุมป้องกันโรค อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

  25. ขั้นตอนการดำเนินงานในระบบเฝ้าระวังขั้นตอนการดำเนินงานในระบบเฝ้าระวัง • เก็บรวบรวมข้อมูล • เรียบเรียงวิเคราะห์ข้อมูล • แปลผล • นำเสนอ หรือส่งต่อข้อมูลไปยังผู้เกี่ยวข้อง • การตอบสนองเมื่อตรวจพบความผิดปกติ

  26. ประเภทของการเฝ้าระวังประเภทของการเฝ้าระวัง • การเฝ้าระวังเชิงรับ (Passive surveillance) : การรายงานเป็นปกติประจำ ในผู้ที่มารับบริการตามระยะเวลาที่กำหนด • การเฝ้าระวังเชิงรุก (Active surveillance) : การค้นหาเชิงรุกเพื่อเพิ่มโอกาสที่จะได้ข้อมูลการเกิดโรคมากขึ้น • การเฝ้าระวังเฉพาะกลุ่ม เฉพาะพื้นที่ (Sentinel surveillance) : ใช้ชนิดกลุ่มตัวอย่างที่เฝ้าระวังเป็นตัวแทนของกลุ่มประชากรที่ต้องการสะท้อนปัญหา เช่น HIV serosurveillance • การเฝ้าระวังเฉพาะเหตุการณ์ (Special surveillance) : การจัดให้มีการเฝ้าระวังที่รวดเร็ว มีความน่าเชื่อถือ มีความจำเพาะ

  27. ประโยชน์ของข้อมูลเฝ้าระวังประโยชน์ของข้อมูลเฝ้าระวัง • ตรวจจับการระบาดของโรค • ติดตามสถานการณ์โรค • พยากรณ์การเกิดโรค • อธิบายธรรมชาติและการกระจายของโรค • ประเมินผลมาตรการควบคุมป้องกันโรค

  28. ทุกเหตุรายงานมีความหมาย ต้องตอบสนอง Surveillance is Information for Action รู้เร็ว แจ้งเร็ว ควบคุมเร็ว

  29. การประเมินระบบเฝ้าระวังการประเมินระบบเฝ้าระวัง • ทำไมต้องประเมินระบบเฝ้าระวัง? เพื่อศึกษาระบบเฝ้าระวังในแง่ • ความสำคัญของปัญหา • ประสิทธิภาพ • ความคุ้มทุน Output Outcome Input Process Impact

  30. ขั้นตอนการประเมินระบบเฝ้าระวังขั้นตอนการประเมินระบบเฝ้าระวัง 1. นำผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) เข้าร่วมในกระบวนการประเมิน ร่วมกำหนดคำถามและวัตถุประสงค์ 2. ศึกษารายละเอียดของการดำเนินงานเฝ้าระวังในโรค/ระบบที่จะประเมิน • ความสำคัญทางสาธารณสุขของโรค/ระบบ • วัตถุประสงค์และขั้นตอนการดำเนินงาน • ทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินงานของระบบเฝ้าระวัง 3. การกำหนดรูปแบบการประเมิน คุณลักษณะ/การใช้ประโยชน์ 4. การรวบรวมข้อมูล สรุปและให้ข้อเสนอแนะ

  31. คำถามที่พบบ่อย • ในการประเมินระบบเฝ้าระวัง เราจำเป็นต้องประเมินคุณลักษณะทุกด้านหรือไม่? • อาจเลือกเรื่องที่ต้องการทราบ ลำดับความสำคัญ • งบประมาณ • สามารถประเมินได้ทุกด้าน

  32. การวัดทางวิทยาการระบาดการวัดทางวิทยาการระบาด 1. วัดปัญหา/ความเจ็บป่วย • Incidence Rate อัตราอุบัติการณ์ • Prevalence Rate อัตราความชุก • Mortality Rate อัตราตาย 2. วัดความเสี่ยง (Risk) เพื่อหาความสัมพันธ์ • Relative Risk Cohort Study • Odds Ratio Case-Control Study 3. วัดผลกระทบ (Impact) • Attributable Risk ดูประสิทธิภาพ • PopulationAttributable Risk ดูผลกระทบสู่ประชาชน

  33. หลักการวิเคราะห์ข้อมูลทางวิทยาการระบาดเชิงพรรณนาหลักการวิเคราะห์ข้อมูลทางวิทยาการระบาดเชิงพรรณนา

  34. ตัวแปรคืออะไร • คุณลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งต่างๆที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต สามารถนำมาศึกษาวัดได้ นับได้ หรือแจกแจงได้ คุณลักษณะและคุณสมบัติเหล่านี้เปลี่ยนแปลงได้ หรือเปลี่ยนค่าได้ อาทิ ความคิดเห็น ความพึงพอใจ ฐานะทางการเงิน ฐานะทางสังคม จำนวนสมาชิกในครอบครัว • เป็นสิ่งที่เรารวบรวม สามารถนำมาอธิบายสิ่งที่เราศึกษา • ตัวแปรในงานวิจัย คือ ตัวชี้วัดในการประเมิน

  35. การจำแนกตัวแปร • จำแนกตามลักษณะการเก็บข้อมูล • ตัวแปรเชิงเดี่ยว: ตัวแปรที่มีความหมายในตนเองเช่น เพศ • ตัวแปรเชิงประกอบ: ตัวแปรที่เกิดจากตัวแปรเชิงเดี่ยวหลายตัว เช่น บรรยากาศองค์กร คุณภาพชีวิต • จำแนกตามคุณลักษณะของตัวแปร • ตัวแปรเชิงปริมาณ เช่น อายุ น้ำหนัก ส่วนสูง ความดันโลหิต • ตัวแปรเชิงคุณภาพ เช่น เพศ อาชีพ ทัศนคติ ความรู้ การรับรู้ • จำแนกตามความสัมพันธ์ของตัวแปร • ตัวแปรต้น หรือตัวแปรอิสระ • ตัวแปรตาม

  36. รูปแบบการวัดของตัวแปรรูปแบบการวัดของตัวแปร หมายถึง รูปแบบการวัดความละเอียด ความหยาบในการบอกความแตกต่างระหว่างคุณสมบัติของตัวแปรที่อยู่ในหน่วยเดียวกัน แบ่งเป็น 4 รูปแบบ ดังนี้ ข้อมูลเชิงคุณภาพ • นามมาตรา (Nominal scale) เช่น เพศ การศึกษา • อันดับมาตรา (Ordinal scale) เช่น ความรุนแรงของโรค ข้อมูลเชิงปริมาณ (ต่อเนื่อง) • ช่วงมาตรา (Interval scale) เช่น อุณหภูมิ • อัตราส่วนมาตรา (Ratio scale) เช่น คะแนน รายได้ น้ำหนัก

  37. การพรรณนาข้อมูล • จุดมุ่งหมาย เพื่อให้เกิดความเข้าใจ โดยการพรรณนา หรืออรรถาธิบายลักษณะการเกิดเหตุการณ์/โรค/ผลลัพธ์ที่สนใจศึกษา ตามปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้อง • เช่น การพรรณนาการเกิดภาวะซึมเศร้าในผู้ประสบภัยน้ำท่วม ใน 6 จังหวัดของภาคกลาง พบภาวะซึมเศร้าของผู้ประสบภัยในจังหวัดปทุมธานี ร้อยละ... สูงกว่าจังหวัดอื่นๆ

  38. หลักการพรรณนาข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณ • ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ข้อมูลมีการแจกแจงแบบปกติ • ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยควอไทล์ข้อมูลมีการแจกแจงแบบอื่นๆ • ค่าฐานนิยม • กราฟ ข้อมูลเชิงคุณภาพ • จำนวน • สัดส่วน เช่น ร้อยละ ความชุกต่อประชากรแสนคน อุบัติการณ์ต่อประชากรแสนคน • กราฟ

  39. การพรรณนาข้อมูล • การพรรณนาข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS • การพรรณนาข้อมูลด้วยโปรแกรม Excel

  40. การพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณการพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยควอไทล์ (Interquartile range, IQR) ค่าฐานนิยม หมายถึงค่าของจำนวนที่มีความถี่สูงสุด

  41. การพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณการพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูล(x): 12, 24, 24, 36, 54, 72, 145, 145, 62, 24, 1 เรียงใหม่: 1, 12, 24, 24, 24, 36, 54, 62, 72, 145, 145 Mean = (12+24+24+36+54+72+145+145+62+24+1)/11 = 54.45 (49.54) Median = 36 ตรงกับลำดับที่ 6 ได้มาจาก (11+1)/2 IQR = (0.75*11+1)-(0.25*11+1) = Mode = 24

  42. การกระจายตัวของข้อมูลเชิงปริมาณการกระจายตัวของข้อมูลเชิงปริมาณ ปกติ เบ้ซ้าย

  43. การพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณด้วย Histogram

  44. การพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณด้วย Boxplot Outliers * 0 Max 75 percentile IQR Median 25 percentile Min

  45. การพรรณนาข้อมูลเชิงปริมาณด้วย Stem and Leaf score Stem-and-Leaf Plot Frequency Stem & Leaf 3.00 3 . 002 10.00 3 . 6677888999 14.00 4 . 01122233333344 25.00 4 . 5555666777778888888899999 29.00 5 . 00000000111111222333333344444 42.00 5 . 555555566666666777777777888888899999999999 46.00 6 . 0000000000011111111111112222222233333334444444 39.00 6 . 555555666677777777778888888888889999999 28.00 7 . 0000000111111112222223333344 9.00 7 . 666788999 4.00 8 . 0001 Stem width: 10.00 Each leaf: 1 case(s)

  46. การพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพการพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงคุณภาพสามารถพรรณนาได้ด้วยจำนวน และสัดส่วน ซึ่งอาจคิดเป็นต่อร้อย ต่อพัน ต่อหมื่น ต่อแสน แล้วแต่ขนาดของตัวหาร • นามมาตรา (Nominal scale) เช่น เพศ การศึกษา หรือการจัดกลุ่มข้อมูลเชิงปริมาณ เช่น กลุ่มรายได้ • อันดับมาตรา (Ordinal scale) เช่น ความรุนแรงของโรค หรือการจัดกลุ่มข้อมูลเชิงปริมาณ เช่น ระดับผลการเรียน

  47. การพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพการพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพ

  48. การพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพการพรรณนาข้อมูลเชิงคุณภาพ

  49. การพรรณนาข้อมูลด้วย SPSS

  50. การเปิดไฟล์ข้อมูล และการนำเข้าข้อมูลจากโปรแกรมอื่นๆ จัดเก็บในไฟล์สกุล *.sav การวิเคราะห์จะถูกเก็บในไฟล์สกุล (*.spo)

More Related