1 / 25

พลวัตของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมโลก : ผลกระà

พลวัตของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมโลก : ผลกระทบต่อเอเชีย. ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง บลจ. เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน). นักบริหารการคลังรุ่นที่ 3 14 มีนาคม 2555. พลวัตของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมโลก : ผลกระทบต่อเอเชีย. การก้าวขึ้นมาของเอเชีย (1).

niabi
Download Presentation

พลวัตของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมโลก : ผลกระà

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พลวัตของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมโลก : ผลกระทบต่อเอเชีย ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง บลจ. เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน) นักบริหารการคลังรุ่นที่ 3 14 มีนาคม 2555

  2. พลวัตของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมโลก : ผลกระทบต่อเอเชีย

  3. การก้าวขึ้นมาของเอเชีย (1)

  4. การก้าวขึ้นมาของเอเชีย (2) ปัจจัยที่ทำให้บทบาทของเอเชียยิ่งเด่นชัดขึ้น

  5. การก้าวขึ้นมาของเอเชีย (3) วิกฤติในสหรัฐ และยุโรป + การขยายตัวของเอเชียทำให้บทบาทของเอเชียในเศรษฐกิจโลกเพิ่มขึ้น

  6. การก้าวขึ้นมาของเอเชีย (4) อัตราการขยายตัวของ GDP รายไตรมาส 6

  7. การก้าวขึ้นมาของเอเชีย (5) 7 ที่มา: WEO Database, IMF

  8. การเตรียมตัวของเอเชียในการเป็นกลุ่มอำนาจเศรษฐกิจใหม่การเตรียมตัวของเอเชียในการเป็นกลุ่มอำนาจเศรษฐกิจใหม่ • กรอบความร่วมมือในภูมิภาคเอเชีย • เอเชียเริ่มมีความร่วมมือระหว่างกันตั้งแต่ทศวรรษ 1970 และเร่งตัวขึ้นตั้งแต่ปี 2000 เป็นต้นมา • ปัจจุบันกรอบความร่วมมือต่างๆ ในเอเชียมีทั้งในมิติความลึกและกว้าง และยังขยายออกไปนอกภูมิภาค รวมอเมริกาเหนือโดยผ่าน APEC และ ยุโรป ผ่าน ASEM • เอเชียกับภูมิภาคอื่น --- APEC, ASEM • ความร่วมมือในเอเชียที่มี ASEAN เป็นศูนย์กลาง --- ASEAN (AEC), ASEAN + 3, ASEAN + 6, ACD, IMT-GT, BIMSTEC, ACMECS • ความร่วมมือทางการเงิน --- CMIM, ABMI, CGIF (Credit Guarantee and Investment Facilities 8

  9. Asian Configuration/ East Asia Architecture BIMSTEC ACMECS IMT-GT Source: Pich Nitsmer, Ph.D., FPRI

  10. กรอบความร่วมมือของ ASEAN และ ASEAN + AEC in 2015 APEC 2020 FTAAP 2008 ASEAN Charter in effect AKFTA effective Jan 10 2007 CEBU Concord ASEAN Community by 2015 CEPEA/ EAC? AJCEP effective Jun 09 AANZFTA effective Jan 10 1998,AIA ACFTA effective Oct 03 1996,AFAS AIFTA signed Aug 09 Trade in goods effective Jan 10 1993,AFTA ABMI – Aug 03 ASEAN +6 CMI – May 00 1977,PTA ASEAN +3 1999 EAS 2005 ASEAN+6 2010 SEATO 1954-1977 ASEAN -10 1967 -1999 APEC 1993 ASEM 1995 2003 Proposed EAFTA ASEAN + 8

  11. ASEAN (1) AEC จะทำให้ ASEAN เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม ด้วยกลไก เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี ปรับปรุง AFTA เป็น ATIGA (ASEAN Trade in Goods Agreement) Political-Security Community เคลื่อนย้ายบริการเสรี เร่งรัดการเปิดเสรีตาม AFAS ASEAN Community ปรับปรุง AIA เป็น ACIA (ASEAN Comprehensive Investment agreement) เพื่อเป็นข้อตกลงการลงทุนเต็มรูปแบบ เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี Socio-Cultural Community Economic Community จัดทำข้อตกลงยอมรับร่วม (Mutual Recognition Arrangement: MRAs) ในวิชาชีพต่างๆ เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี ดำเนินงานตามแผนงานที่เห็นชอบโดยรัฐมนตรีคลัง ASEAN ---ยังไม่มีกรอบที่ชัดเจน เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น

  12. ASEAN (2) • ATICA --- ยกเลิกมาตรการกีดกันการค้าที่ไม่ใช่ภาษี และให้มีการอำนวยความสะดวกทางการค้า • AFAS --- การลด/ยกเลิก กฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าบริการ • ยกเลิกข้อจำกัดการให้บริการข้ามแดน ทั้ง Mode 1 Cross border supply และ Mode 2 Consumption abroad • ผูกพันการเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นให้นักลงทุนต่างชาติ (Mode 3 Commercial presence) ในสาขา • ACIA ---เปิดเสรี คุ้มครอง ส่งเสริม และอำนายความสะดวกด้านการลงทุนใน ASEAN ด้วยหลัก National treatment ใน 5 สาขา คือ การเกษตร, การประมง, ป่าไม้, เหมืองแร่ และ ภาคการผลิต 12

  13. ASEAN (3) • MRAs --- ปัจจุบัน ASEAN มี MRAs ใน 7 สาขาวิชาชีพ คือ วิศวกรรม, สถาปัตยกรรม, แพทย์, ทันตแพทย์, การพยาบาล , บัญชี และ การสำรวจ • หลักการขั้นต้นของ MRAs ในสาขาวิชาชีพต่างๆ คือ • การเปิดให้ผู้ประกอบวิชาชีพที่มีใบอนุญาต/คุณสมบัติ สามารถจดทะเบียน/ขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นๆได้ • ผู้ประกอบวิชาชีพต่างชาติที่ขอรับใบอนุญาต/จดทะเบียน ต้องผ่านการประเมินและอยู่ภายใต้การดูแลของหน่วยงานกำกับดูแลของประเทศ ASEAN ที่รับเข้าทำงาน • ผู้ประกอบวิชาชีพต่างชาติจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียนภายในของประเทศ ASEAN นั้นๆ • ปัจจุบัน อยู่ในระหว่างการนำ MRAs ไปสู่การปฏิบัติจริง

  14. ASEAN + 3 (1) • ASEAN +3 --- เวทีความร่วมมือระหว่าง ASEAN กับ 3 คู่เจรจา คือ จีน ญี่ปุ่น และ เกาหลี เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี 1999 • พ.ย. 2007 --- มี Cooperation Work Plan (2007 -2017) เป็น แผนแม่บทในการเร่งรัดความร่วมมือในกรอบ ASEAN +3 โดยมี 5 สาขาสำคัญคือ • การเมืองและความมั่นคง • เศรษฐกิจและการเงิน • พลังงาน, สิ่งแวดล้อม, การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และการพัฒนาอย่างยั่งยืน • การพัฒนาสังคม วัฒนธรรม • กลไกสนับสนุนและติดตามการดำเนินงาน

  15. มาตรการริเริ่มเชียงใหม่ (Chiang Mai Initiative: CMI) เริ่มปี 2000 พ.ค. 2009 --- ปรับ CMI ซึ่งเป็นข้อตกลงทวิภาคี เป็นChiang Mai Initiative Multilateralisation (CMIM) ซึ่งเป็นสัญญาความตกลงพหุภาคีในการแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน+3 โดยความตกลงได้มีผลบังคับใช้แล้ว เมื่อ 24 มี.ค. 2010 องค์ประกอบหลักของ CMIM วัตถุประสงค์ -- (1) เป็นกลไกความร่วมมือทางการเงินในภูมิภาค (Regional Financing Arrangement) ในการเสริมสภาพคล่องระหว่างกันในกรณีที่ประสบปัญหาดุลการชำระเงินหรือขาดสภาพคล่องในระยะสั้น (2) ส่วนเสริมความช่วยเหลือด้านการเงินที่ได้รับจากองค์กรการเงินระหว่างประเทศ  เงินกองทุน = 120 พันล้าน US$ มาจากเงินสมทบจากกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน 20%และกลุ่มประเทศบวกสาม ในสัดส่วน 80% วงเงินเบิกถอนความช่วยเหลือ เท่ากับวงเงินสมทบเข้ากองทุน x borrowing multiplier ของประเทศนั้นๆ ASEAN + 3 (2)

  16. ASEAN + 3 (3) Source: Pich Nitsmer, Ph.D., FPRI

  17. กลไกการตัดสินใจของ CMIM ASEAN + 3 (4) Source: Pich Nitsmer, Ph.D., FPRI

  18. มาตรการริเริ่มพัฒนาตลาดพันธบัตรเอเชีย (Asia Bond Market Initiative : ABMI) จัดตั้งในปี 2003 พ.ค. 2008 --- เห็นชอบ New ABMI Roadmap เพื่อพัฒนาตลาดพันธบัตรสกุลเงินท้องถิ่นในภูมิภาคให้มีความสะดวกและเข้าถึงได้ง่ายทั้งสำหรับนักลงทุนและผู้ออกตราสารหนี้ ก.ย. 2010 --- จัดตั้ง ASEAN+3 Bond Market Forum (ABMF) เพื่อพัฒนากฎระเบียบและแนวทางปฏิบัติของการทำธุรกรรมข้ามพรมแดนให้มีมาตรฐานเดียวกันในภูมิภาค พ.ย. 2010 --- จัดตั้งกลไกการค้ำประกันเครดิตและการลงทุน (Credit Guarantee and Investment Facility: CGIF) วงเงิน 700 ล้านUSD โดยเงินทุนมาจากประเทศสมาชิกอาเซียน+3 และ ADB กลไก CGIF  จะทำหน้าที่เป็นผู้ค้ำประกันพันธบัตรให้แก่ภาคเอกชน ซึ่งจะช่วยให้ภาคเอกชนสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้มากขึ้น และเป็นกลไกสำคัญในการสนับสนุนการเพิ่มอุปทานของพันธบัตรสกุลเงินท้องถิ่นในภูมิภาค   ASEAN + 3 (5)

  19. EAS / ASEAN + 6 • การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit : EAS) --- เป็นเวทีสำหรับการหารือทางยุทธศาสตร์ที่เปิดกว้างให้ประเทศภายนอกที่มีความสนใจ เข้ามามีส่วนร่วมในกรอบความร่วมมือต่างๆ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมสันติภาพ เสถียรภาพ และความเจริญทางเศรษฐกิจของเอเชียตะวันออก • EAS ครั้งแรกจัดขึ้นที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ในปี 2005 โดยมีประเทศที่เข้าร่วม 16 ประเทศ ได้แก่ ประเทศสมาชิกอาเซียน10 ประเทศ จีน ญี่ปุน เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ • พ.ย. 2011--- ผู้นำจากสหรัฐ และ รัสเซีย เข้าร่วมประชุม EAS ทำให้ปัจจุบันมีประเทศเข้าร่วม EAS เป็น 18 ประเทศ

  20. ความคืบหน้า (1) • ผลจากความร่วมมือทางเศรษฐกิจของเอเชียในกรอบต่างๆ ทำให้ • รูปแบบการค้าระหว่างประเทศของเอเชียเปลี่ยนแปลง โดยมีการค้าระหว่างกัน (Intra – regional trade) มากขึ้น • ปัจจุบัน สัดส่วนการค้าระหว่างกันในภูมิภาคเอเชียสูงกว่าการค้ากับนอกภูมิภาคทว่าสินค้าที่มีการค้าขายระหว่างกันในเอเชียส่วนใหญ่ยังกระจุกตัวอยู่ในกลุ่มสินค้าขั้นกลาง (intermediate products) โดยที่ตลาดของสินค้าขั้นสุดท้าย (final products) ยังคงเป็นตะวันตกโดยเฉพาะสหรัฐและยุโรป • แม้ว่าความร่วมมือทางการเงินจะทำให้ตลาดพันธบัตรของเอเชียขยายตัวขึ้น แต่ทว่าขนาดก็ยังเล็กเมื่อเทียบกับตะวันตก

  21. ความคืบหน้า (2) Source: Asia Regional Integration Center, ADB

  22. ความคืบหน้า (3) Intra sub regional Trade : Percentage Intra Asian Trade : Percentage Source: Pich Nitsmer, Ph.D., FPRI Source: Asia Regional Integration Center, ADB Note: Asia consists of the 48 regional member countries of ADB.

  23. ความคืบหน้า (4) ขนาดตลาดพันธบัตรเอเชีย (พันล้าน USD) รวมญี่ปุ่น ไม่รวมญี่ปุ่น 5,479 พันล้าน USD 18,105 พันล้าน USD ABMI ABMI เปรียบเทียบขนาดตลาดพันธบัตรในปี 2011 (พันล้าน USD) Note: As of September 2011 for ASEAN -5, Korea, Japan, HK, and China , and as of June 2011 for the rest Sources: AsianBondsOnline.adb.org and BIS

  24. ความท้าทาย (1)

  25. ความท้าทาย (2)

More Related