1 / 138

การพัสดุ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักบริหารการคลังท้องถิ่น

การพัสดุ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักบริหารการคลังท้องถิ่น. ขอบเขตการบรรยาย. ระเบียบ มท. ว่าด้วยการพัสดุที่ อปท. ถือปฏิบัติ หนังสือสั่งการ/หนังสือเวียนเกี่ยวกับงานพัสดุ แนวทางปฏิบัติงานพัสดุ ตัวอย่างแนวคำพิพากษาและคำสั่งของศาลที่เกี่ยวข้องกับการพัสดุ

nhu
Download Presentation

การพัสดุ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักบริหารการคลังท้องถิ่น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัสดุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำนักบริหารการคลังท้องถิ่นการพัสดุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำนักบริหารการคลังท้องถิ่น

  2. ขอบเขตการบรรยาย • ระเบียบ มท. ว่าด้วยการพัสดุที่ อปท. ถือปฏิบัติ • หนังสือสั่งการ/หนังสือเวียนเกี่ยวกับงานพัสดุ • แนวทางปฏิบัติงานพัสดุ • ตัวอย่างแนวคำพิพากษาและคำสั่งของศาลที่เกี่ยวข้องกับการพัสดุ • หลักเกณฑ์และวิธีการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction)

  3. ระเบียบพัสดุท้องถิ่น ระเบียบ มท. ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหาร ราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2535(ฉ.9 พ.ศ. 2553)

  4. กระบวนการพัสดุ

  5. การซื้อ - การจ้าง การจ้าง การจ้างทำของ การรับขน การจ้างเหมาบริการ ยกเว้น • การจ้างแรงงาน (จ้างลูกจ้าง) • การจ้างที่ปรึกษา • การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การซื้อ การซื้อพัสดุทุกชนิด (รวมติดตั้ง/ทดลอง/บริการที่เกี่ยวเนื่อง)

  6. วิธีการจัดหา • วิธีตกลงราคาไม่เกิน 100,000 บาท • วิธีสอบราคา เกิน 100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท • วิธีประกวดราคา เกิน 2,000,000 บาท • วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท + เงื่อนไข • วิธีกรณีพิเศษ ไม่กำหนดวงเงิน + เงื่อนไข • * วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) เป็นไปตามประกาศของ สถ.

  7. ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง

  8. รายงานขอซื้อหรือขอจ้างรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง

  9. คณะกรรมการ ตกลงราคา - คกก.ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง สอบราคา 1. คกก.เปิดซองสอบราคา 2. คกก.ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง ประกวดราคา 1. คกก.รับและเปิดซองประกวดราคา 2. คกก.พิจารณาผลการประกวดราคา 3. คกก.ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง

  10. คณะกรรมการ วิธีพิเศษ 1. คกก.จัดซื้อ/จ้าง โดยวิธีพิเศษ 2. คกก.ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง วิธีกรณีพิเศษ - คกก.ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง

  11. องค์ประกอบของคณะกรรมการองค์ประกอบของคณะกรรมการ •จากข้าราชการส่วนท้องถิ่น/ข้าราชการอื่น - ประธานกรรมการ 1 คน - กรรมการ อย่างน้อย 2 คน * ให้คำนึงถึงลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้รับแต่งตั้ง •จากบุคคลอื่น (ใครก็ได้) กรณีจำเป็น/เพื่อประโยชน์ - กรรมการร่วม ไม่เกิน 2 คน

  12. หลักการแต่งตั้งกรรมการหลักการแต่งตั้งกรรมการ * ข้อสังเกตและข้อห้าม • ห้าม กก.รับและเปิดซองประกวดราคา เป็น กก.พิจารณาผล การประกวดราคา • ห้าม กก.เปิดซองสอบราคา หรือ กก.พิจารณาผลการประกวดราคา เป็น กก.ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง • นายก/รองนายก อปท. สมาชิกสภาท้องถิ่น ลูกจ้าง พนักงานราชการ ฯลฯ ร่วมเป็นกรรมการได้ ในกรณีจำเป็น/ เพื่อประโยชน์ (บุคคลอื่น) • กรณีแต่งตั้งข้าราชการอื่น ต้องให้ ผวจ. นอ. หรือหัวหน้าหน่วยงานนั้นเห็นชอบก่อน

  13. หลักการแต่งตั้งกรรมการหลักการแต่งตั้งกรรมการ * บุคคลที่ไม่ควรแต่งตั้งให้เป็นกรรมการ เพราะขัดกับหลักการควบคุมภายในที่ดี • ไม่ควรแต่งตั้ง หน.ส่วนการคลัง เป็นกก.เปิดซองสอบราคา หรือ กก.พิจารณาผลการประกวดราคา • ไม่ควรแต่งตั้ง หน.ส่วนโยธา เป็นทั้งผู้ควบคุมงาน และ กก.ตรวจการจ้าง • ไม่ควรแต่งตั้ง จนท.ตรวจสอบภายในเป็น กก.ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง

  14. การประชุมของคณะกรรมการการประชุมของคณะกรรมการ - ประธาน + กรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง และประธานจะต้องอยู่ด้วยทุกครั้ง องค์ประชุม - ถือเสียงข้างมาก - ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานออกเสียง เพิ่มอีก 1 เสียง มติกรรมการ ยกเว้น - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง ต้องใช้มติเอกฉันท์

  15. วิธีตกลงราคา รายงาน ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง เจ้าหน้าที่พัสดุ ให้ความเห็นชอบ เสนอสั่งซื้อ/จ้าง ผู้ขาย / ผู้รับจ้าง หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ สั่งซื้อ / จ้าง

  16. วิธีตกลงราคา ข้อยกเว้น กรณีจำเป็นเร่งด่วน ซึ่งไม่ได้คาดหมาย ไว้ก่อน และดำเนินการตามปกติไม่ทัน วิธีการ - เจ้าหน้าที่พัสดุ ดำเนินการไปก่อน - ทำรายงานขอความเห็นชอบภายหลัง - ใช้รายงานเป็นหลักฐานในการตรวจรับ

  17. วิธีสอบราคา ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง เจ้าหน้าที่พัสดุ - ก่อนวันเปิดซองสอบราคาไม่น้อยกว่า 10 วัน / นานาชาติไม่น้อยกว่า 45 วัน - ส่งประกาศให้ผู้มีอาชีพขาย/ผู้รับจ้าง โดยตรง หรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ให้มากที่สุด และต้องไม่น้อยกว่า 5 ราย - ประกาศเผยแพร่ ดังนี้ 1. ปิดประกาศโดยเปิดเผย ณ ที่ทำการ อปท. 2. ปิดประกาศโดยเปิดเผย ณ สถานที่กลาง 3. ลงประกาศในเว็บไซต์ของ อปท. /จังหวัด (ถ้ามี) 4. ลงประกาศในเว็บไซต์กรมบัญชีกลาง จัดทำประกาศ เผยแพร่เอกสาร

  18. กระบวนการสอบราคา ส่งประกาศ/ปิดประกาศ 10 วัน+ วันเปิดซอง วันยื่นซอง

  19. หน้าที่ของ คกก.เปิดซองสอบราคา • ตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน (ผู้จัดการ/ผู้ถือหุ้น) • ประกาศชื่อผู้ผ่านการตรวจสอบ • เปิดซองใบเสนอราคา • ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา • ตรวจสอบคุณลักษณะของพัสดุหรืองานจ้าง • คัดเลือกพัสดุหรืองานจ้างที่ราคาต่ำสุด • ราคาเท่ากันหลายราย - ยื่นซองใหม่ • คุณสมบัติถูกต้องรายเดียว - ดำเนินการต่อได้

  20. กรณีเกินวงเงิน • เรียกรายต่ำสุดมาต่อรองให้อยู่ในวงเงิน หรือ • สูงกว่าวงเงินไม่เกิน 10 % • ถ้าไม่ได้ผล (กรณีเกิน 10%) ให้เรียกทุกรายมายื่นซองใหม่ • ถ้าไม่ได้ผลอีก ขอเพิ่มวงเงิน ลดรายการที่ไม่จำเป็น • หรือยกเลิกการสอบราคา

  21. วิธีประกวดราคา รายงาน ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง เจ้าหน้าที่พัสดุ เห็นชอบ - ประกาศเผยแพร่ ดังนี้ 1. ปิดประกาศโดยเปิดเผย ณ ที่ทำการ อปท. 2. ปิดประกาศโดยเปิดเผย ณ สถานที่กลาง 3. ลงประกาศในเว็บไซต์ของ อปท. (ถ้ามี) 4. ลงประกาศในเว็บไซต์กรมบัญชีกลาง 5. ประกาศวิทยุกระจายเสียงและหรือ นสพ. 6. ส่งให้กรมประชาสัมพันธ์ + อสมท. 7. ส่งให้ สตง. ภูมิภาค 8. ส่งให้จังหวัด อำเภอ กิ่งอำเภอ ปิดประกาศ ที่ศาลากลาง/ที่ทำการฯ 9. ส่งให้ผู้มีอาชีพฯ /โฆษณาวิธีอื่น (ตามที่ เห็นควร) • - ประกาศเผยแพร่ 20 วัน • ให้หรือขายแบบ 10 วัน • เผื่อเวลาคำนวณ • ประกาศเพิ่มเติม (พิมพ์ผิด/พิมพ์ตก) รวมอยู่ใน 20 วัน คณะกรรมการรับและเปิดซอง- รับซอง - ตรวจหลักประกันซอง - รับเอกสารหลักฐาน - เปิดซอง,อ่านราคา,ลงชื่อในเอกสาร

  22. คณะกรรมการพิจารณาผลฯ - ตรวจสอบคุณสมบัติ / เงื่อนไข - คัดเลือกสิ่งของ / งานจ้าง - พิจารณาราคา * เกณฑ์ปกติ ราคาต่ำสุด * เท่ากันหลายราย ยื่นซองใหม่ * ถูกต้องรายเดียว ยกเลิก * ไม่มีผู้เสนอราคา ยกเลิก * มีแต่ไม่ถูกต้อง ยกเลิก วิธีประกวดราคา เปลี่ยนแปลงสาระสำคัญก่อนทำสัญญา - ยกเลิก กรณียื่น 2 ซอง:ซองราคา+ซองเทคนิค - คำนึงถึงเทคโนโลยีข้อกำหนดพิเศษ - ข้อเสนอไม่อยู่ในฐานเดียวกัน- การพิจารณาเทคนิค ให้มีผู้เชี่ยวชาญ ที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย ด้านละ 1 คน ร่วมเป็นกรรมการ

  23. กระบวนการประกวดราคา เผื่อเวลา คำนวณราคา ให้/ขายแบบ 10 วัน+ วันยื่นซอง วันเปิดซอง ประกาศ 20 วัน+

  24. การซื้อโดยวิธีพิเศษ รายงาน ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง เจ้าหน้าที่พัสดุ ให้ความเห็นชอบ

  25. การจ้างโดยวิธีพิเศษ รายงาน เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง ให้ความเห็นชอบ

  26. วิธีกรณีพิเศษ รายงาน เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง ให้ความเห็นชอบ ถ้าไม่เกิน 100,000 ขออนุมัติหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ส่วนราชการรัฐวิสาหกิจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง เงื่อนไข1. เป็นผู้ผลิต/ทำงานจ้างนั้นเอง + นายกรัฐมนตรีอนุมัติ 2. มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรีให้ซื้อ/จ้าง(เฉพาะข้อ 2. ให้รวมถึงหน่วยงานที่มี กม./มติ ครม. กำหนดด้วย)

  27. แลกเปลี่ยน * ยกเลิกการแลกเปลี่ยน ที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง

  28. รูปแบบของสัญญา 1. เต็มรูป 1.1 ตัวอย่างสัญญาที่ มท. กำหนด 1.2 มีข้อความแตกต่างเสียเปรียบ/ไม่รัดกุม (ส่ง สนง.อัยการสูงสุด) 1.3 ร่างใหม่ (ส่ง สนง.อัยการสูงสุด) 2. ลดรูป ข้อตกลงเป็นหนังสือ (ใบสั่งซื้อ/จ้าง) 2.1 ตกลงราคา2.2 ส่งพัสดุครบถ้วนภายใน 5 วันทำการ 2.3 กรณีพิเศษ2.4 การซื้อ/จ้างโดยวิธีพิเศษ ตามข้อ 17,18 (1)-(3) 3. ไม่มีรูปแบบ 3.1 ไม่เกิน 10,000 บาท 3.2 ตกลงราคาฉุกเฉิน ตามข้อ 32 ว.2

  29. สัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่า K) • ใช้ได้กับงานก่อสร้างทุกประเภท (ยกเว้น งานก่อสร้างระบบประปาหมู่บ้าน)1 • ใช้ทั้งกรณีค่างานเพิ่มขึ้นและลดลง (ปกติ +/-42มติ ครม. +/-23) • ต้องระบุค่า Kไว้ในประกาศและสัญญา รวมทั้งสูตรค่า K • เป็นหน้าที่ของผู้รับจ้างที่จะต้องเรียกร้องภายในกำหนดเวลา กรณีค่างานเพิ่มขึ้น หรือเป็นหน้าที่ของผู้ว่าจ้าง กรณีค่างานลดลง • 1 หนังสือ สถ. ที่ มท 0808.2/ว 1372 ลว. 14 ก.ค. 52 • 2 หนังสือสำนักเลขาธิการ ครม. ที่ นร 0203/ว 109 ลว. 24 ส.ค. 32 • 3 หนังสือสำนักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ นร 0714/ว 100 ลว. 13 ส.ค. 51

  30. การแก้ไขสัญญา หรือข้อตกลง หลักการ : ลงนามแล้วแก้ไขไม่ได้ เหตุที่แก้ไขได้◊ ไม่ทำให้ท้องถิ่นเสียประโยชน์ ◊ เป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่น ผู้มีอำนาจแก้ไข ผู้บริหารท้องถิ่น หรือ ผวจ. กรณีเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ วิธีการ : จัดทำสัญญาแก้ไขเพิ่มเติม : เพิ่ม/ลด วงเงิน ระยะเวลา ให้ตกลงไปพร้อมกัน : ถ้าเป็นงานเทคนิค/งานเกี่ยวกับความมั่นคงแข็งแรง ต้องได้รับการรับรอง จากวิศวกร สถาปนิก : กรณีเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ถ้าเพิ่มวงเงิน ให้เสนอจังหวัด เพื่อ สถ. พิจารณาขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณก่อน

  31. การปรับ ผู้มีอำนาจกำหนดค่าปรับ = ผู้บริหารท้องถิ่น

  32. วิธีการปรับ 1. แจ้งสงวนสิทธิการปรับเมื่อครบกำหนดสัญญา 2. นับถัดจากวันครบกำหนดถึงวันส่งมอบ 3. คิดอัตราตามสัญญา /ข้อตกลง4. ของเป็นชุด ปรับทั้งชุด5. ของคิดราคารวมค่าติดตั้งทดลอง ปรับตามราคาทั้งหมด

  33. การงดหรือลดค่าปรับ / การขยายเวลา เหตุ 1. เกิดจากความผิดของท้องถิ่น 2. เหตุสุดวิสัย 3. พฤติการณ์ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย ระยะเวลา คู่สัญญาต้องแจ้งเหตุ ภายใน 15 วัน นับแต่เหตุสิ้นสุดลง (ยกเว้น เหตุตามข้อ 1) อำนาจผู้บริหารท้องถิ่น หรือ ผู้ว่าราชการจังหวัด (ตามวงเงิน)

  34. การลงโทษผู้ทิ้งงาน • หลักเกณฑ์ : • ผู้ได้รับการคัดเลือก แต่ไม่ไปทำสัญญาภายในกำหนดเวลา • คู่สัญญาไม่ปฏิบัติตามสัญญา • ไม่แก้ไขความชำรุดบกพร่องของพัสดุที่ซื้อ/จ้าง ภายในกำหนดเวลา • การดำเนินการ : 1. ผู้บริหารท้องถิ่นรายงานให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทราบ 2. ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งให้บุคคลดังกล่าวเป็นผู้ทิ้งงาน 3. แจ้งเวียนชื่อบุคคลดังกล่าวเป็นผู้ทิ้งงาน • ผลของการเป็นผู้ทิ้งงาน : ห้าม อปท. ก่อนิติสัมพันธ์กับผู้ทิ้งงาน นับแต่ได้รับการแจ้งเวียนชื่อ

  35. ตามตัวอย่าง มท. การลงทะเบียน ถูกต้อง / เรียบร้อย / ครบถ้วนปลอดภัย / ใช้สะดวก การเก็บรักษา การเบิกจ่าย ผู้เบิก หัวหน้าหน่วยใช้ ผู้สั่งจ่าย หัวหน้าควบคุม การควบคุม การตรวจสอบ ประจำปี (คกก.) / ระหว่างปี (ชำรุด)

  36. การจำหน่าย เกิน 1 แสนบาท ขายทอดตลาด ไม่เกิน 1 แสนบาท หรือขายให้ส่วนราชการ / รัฐวิสาหกิจ / ท้องถิ่นองค์กรสาธารณกุศล ขายโดยวิธีตกลงราคา ถ้าไม่ได้ผลให้นำวิธีเกี่ยวกับการซื้อมาใช้

  37. โอน ให้โอนได้เฉพาะส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ องค์กรสาธารณกุศล โดยมีหลักฐานการส่งมอบไว้ต่อกัน แปรสภาพ หรือ ทำลาย ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ที่ท้องถิ่นกำหนด

  38. สโตนเฮนจ์ โฮปเวลล์ หนังสือสั่งการเกี่ยวกับงานพัสดุ

  39. การเบิกค่าตอบแทนกรรมการการเบิกค่าตอบแทนกรรมการ

  40. การเบิกค่าตอบแทนกรรมการการเบิกค่าตอบแทนกรรมการ หนังสือ มท. ที่ มท 0808.4/ว 3652 ลว. 17 พ.ย. 53 • หลักเกณฑ์ • ถ้ามีมาตรฐานกำหนดตำแหน่งให้ตรวจการจ้าง/ควบคุมงาน เบิกไม่ได้ • แม้ไม่มีมาตรฐานกำหนดตำแหน่งดังกล่าว แต่หากได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวเป็นประจำ ก็เบิกไม่ได้ • ปฏิบัติงานจริงวันไหน ก็เบิกได้เฉพาะวันนั้น • เบิกได้ไม่เกินคนละ 1 ครั้ง ต่อวัน ถ้าวันเดียวกันมีหลายโครงการ เบิกได้เฉพาะโครงการที่ได้ค่าตอบแทนสูงสุดเพียงโครงการเดียว • ค่าตอบแทนนี้ตัดค่าตอบแทนอื่นที่มีลักษณะเดียวกัน เช่น ค่าปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ยกเว้นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ • กรณีบุคคลภายนอกมาเป็นกรรมการตรวจการจ้าง ให้เบิกเพิ่มอีก 1 เท่า

  41. การจัดหาครุภัณฑ์/รถยนต์ของ อปท. นส.มท. ที่ มท 0808.2/ว1989 ลว. 22 มิ.ย. 52 • รถส่วนกลาง / ครุภัณฑ์ • ขนาดและราคาให้จัดหาตามบัญชีมาตรฐานครุภัณฑ์ • ถ้าขนาดและ/หรือราคานอกเหนือบัญชี ต้องชี้แจงเหตุผลความจำเป็น ในคำชี้แจงประกอบงบประมาณ + จัดหาตามราคาท้องถิ่น/ ที่เคยจัดหาอย่างประหยัด • รถประจำตำแหน่ง • ไม่เกิน 2,400 ซีซี ราคาและคุณลักษณะอื่นๆ ให้เป็นไปตามบัญชี • รถรับรอง • ห้ามจัดซื้อรถรับรอง (มติ ครม. 8 ก.พ. 43)

  42. การจำหน่ายพัสดุโดยวิธีขายทอดตลาดการจำหน่ายพัสดุโดยวิธีขายทอดตลาด หนังสือ มท. ที่ มท 0808.2/ว 3794 ลว. 17 พ.ย. 52 ระเบียบพัสดุ ข้อ 150 (1) ขายทอดตลาดตามหลักเกณฑ์ของ ป.พ.พ. มาตรา 509 - 517 ให้ผู้บริหารท้องถิ่นใช้ดุลพินิจประเมินราคาทรัพย์สินก่อนขายทอดตลาด โดยใช้เกณฑ์อย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้ 1. ราคาที่ซื้อขายกันตามปกติในท้องตลาด /ราคาตามสภาพพัสดุ ณ เวลาขาย 2. ราคาตามลักษณะ ประเภท ชนิดของพัสดุ และอายุการใช้งาน /สภาพ สถานที่ตั้ง ของพัสดุ กรณีที่ไม่มีจำหน่ายทั่วไป

  43. การซื้อวัสดุครุภัณฑ์ให้หน่วยราชการอื่นยืม หนังสือ มท. ที่ มท 0808.2/ว 2804 ลว. 4 ก.ย. 51 ระเบียบพัสดุ ข้อ 139 - 143 หลักเกณฑ์ : มีพัสดุไว้ใช้งานอยู่แล้ว  ให้หน่วยงานอื่นยืม เพื่อช่วยเหลือสนับสนุน ปัญหาที่พบ : ไม่มีพัสดุอยู่ก่อนหน้า แต่จัดซื้อใหม่ แล้วนำไปให้หน่วยงานอื่นยืม ซื้อพัสดุมาแล้ว โอนพัสดุให้หน่วยงานอื่นทันที ซื้อพัสดุตามที่หน่วยงานอื่นร้องขอ โดยไม่มี กม. /ระเบียบ กำหนดให้กระทำได้

  44. VAT นส.ที่ กค (กวพ) 0421.3/04915 ลว 26 ก.พ.51 (1) สตภ.ที่ 2 ท้วงอบต.หนองบัวว่า คกก.เปิดซองสอบราคาไม่นำราคากลางมาหัก vat ก่อนเปรียบเทียบราคา ทำให้ราคาจ้างสูงกว่าราคากลางที่หัก vat แล้ว ราคากลาง = ค่าก่อสร้างตามหลักเกณฑ์ที่ ครม.กำหนด เป็นราคาที่ราชการยอมรับไม่สูงจนผู้ประกอบการกำไรมากเกินกว่าที่ควร และไม่ต่ำจนผู้ประกอบการไม่สามารถทำได้

  45. นส.ที่ กค (กวพ) 0421.3/04915 ลว 26 ก.พ.51 (2) ดังนั้น ราคากลางจึงไม่ใช่ราคามาตรฐานงานก่อสร้าง แต่เป็นราคาที่ได้จากการคำนวณตามหลักเกณฑ์ของระเบียบที่เกี่ยวข้อง คือ ระเบียบพัสดุฯ ข้อ 20 ดังนั้น หากผู้เสนอราคารายต่ำสุด ได้เสนอราคาถูกต้องตามรายละเอียดในเอกสารการสอบราคา โดยรวมภาษีทุกชนิดแล้ว ราชการ ก็สามารถรับราคากับผู้เสนอราคารายนั้นได้ โดยไม่จำเป็นต้องทำการเปรียบเทียบกับราคากลางหลังหัก vatกับผู้เสนอราคารายอื่นอีก สรุป - ไม่ต้องหัก vat จากราคาที่ผู้เสนอราคาได้เสนอ (แต่ สตง. ให้หัก) * ข้อสังเกต - แต่ต้องหัก vat กรณีที่ทำสัญญากับบุคคลธรรมดา

  46. การจัดซื้อครุภัณฑ์เก่า • เงื่อนไข • มีความจำเป็น - งบประมาณไม่พอ หรือ หาซื้อครุภัณฑ์ใหม่ไม่ได้ หรือ ต้องการใช้ครุภัณฑ์เก่าเท่านั้น • ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบประสิทธิภาพการใช้งาน • ควรมีประกันความชำรุดบกพร่อง อย่างน้อย 6 เดือน • หาอะไหล่ได้ง่าย • ให้ขอทำความตกลงกับปลัดกระทรวงมหาดไทย ตามระเบียบฯ ข้อ 4

  47. หนังสือ มท. ด่วนมาก ที่ มท 0804/ว 2269 ลว. 4 ก.ค. 46 • การดัดแปลงพัสดุ • อปท. เป็นเจ้าของทรัพย์สิน • ต่อเติม ดัดแปลง หรือรื้อถอน • ดำเนินการตามระเบียบพัสดุ

  48. ซื้อกระดาษสำนักงานมีราคากลางหรือไม่ซื้อกระดาษสำนักงานมีราคากลางหรือไม่ • เคยมี แต่ปัจจุบันยกเลิกแล้ว (มติ ครม. 29 พ.ค. 50) • ให้ซื้อได้โดยเสรี (ตามราคาท้องตลาด) • หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0421.3/ 16781 ลว. 26 มิ.ย. 51

  49. การพิจารณาคุณสมบัติของ Joint Venture ถ้า JV (กิจการร่วมค้า) ได้มีการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลใหม่ ใช้ผลงานของนิติบุคคลรายไหนก็ได้ ถ้าไม่ได้จดฯ ใหม่ ใช้ผลงานของผู้ค้าหลัก หนังสือ มท. ที่ มท 0313.4/ 3054 ลว. 24 ต.ค. 43

  50. แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับพัสดุแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับพัสดุ

More Related