180 likes | 364 Views
à¹à¸™à¸§à¸—างà¸à¸²à¸£à¸ˆà¸±à¸”ทำà¹à¸œà¸™à¸à¸²à¸£à¸›à¸à¸´à¸šà¸±à¸•ิงานปีงบประมาณ 2551. ประเด็นยุทธศาสตร์ “พัฒนาชุมชนน่าà¸à¸¢à¸¹à¹ˆ /เมืà¸à¸‡à¸™à¹ˆà¸²à¸à¸¢à¸¹à¹ˆâ€. นางสุนทรี รัศมิทัติ นัà¸à¸§à¸´à¸Šà¸²à¸à¸²à¸£à¸ªà¸²à¸˜à¸²à¸£à¸“สุข 8 ว . หัวหน้าà¸à¸¥à¸¸à¹ˆà¸¡à¸‡à¸²à¸™à¸ªà¸¸à¸‚าภิบาลà¸à¸²à¸«à¸²à¸£à¹à¸¥à¸°à¸à¸™à¸²à¸¡à¸±à¸¢à¸ªà¸´à¹ˆà¸‡à¹à¸§à¸”ล้à¸à¸¡. สรุปà¸à¸²à¸£à¹€à¸›à¸¥à¸µà¹ˆà¸¢à¸™à¹à¸›à¸¥à¸‡à¸‚à¸à¸‡à¸›à¸£à¸°à¹€à¸”็นยุทธศาสตร์. เดิม. ใหม่.
E N D
แนวทางการจัดทำแผนการปฏิบัติงานปีงบประมาณ 2551 ประเด็นยุทธศาสตร์“พัฒนาชุมชนน่าอยู่ /เมืองน่าอยู่” นางสุนทรี รัศมิทัติ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว. หัวหน้ากลุ่มงานสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดล้อม
สรุปการเปลี่ยนแปลงของประเด็นยุทธศาสตร์สรุปการเปลี่ยนแปลงของประเด็นยุทธศาสตร์ เดิม ใหม่ วัดความสำเร็จแต่ละประเด็น เช่น ส้วม ร้านอาหาร ตลาด ลูกค้ามุ่งที่สถานประกอบการ การดำเนินงานมุ่งที่ผลของเป้าหมายผ่านเกณฑ์ที่กำหนด มีโครงการรองรับในการดำเนินงานแต่ละประเด็น เช่น CFGT แต่ละโครงการตอบสนองเป้าหมายของตนเอง วัดความสำเร็จเป็นท้องถิ่น ลูกค้ามุ่งที่ อปท. การดำเนินงานเน้นการพัฒนาขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถดำเนินงานได้ มีโครงการรองรับในการดำเนินงานแต่ละประเด็น เช่น CFGT แต่ละโครงการมุ่งสู่ อปท. เพื่อให้ “ท้องถิ่นทำได้”
ยุทธศาสตร์กรมอนามัย “ พัฒนาชุมชน/เมืองน่าอยู่” วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งระดับเทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล สามารถพัฒนาและแก้ปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นฐานในท้องถิ่นของตนเอง โดยใช้กลยุทธ์เมืองน่าอยู่เป็นเครื่องมือใน การดำเนินงาน
เป้าหมายการดำเนินงาน “ พัฒนาชุมชน/เมืองน่าอยู่” เป้าหมาย 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผ่านเกณฑ์กระบวนงานเมืองน่าอยู่ 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสัมฤทธิผลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การวัดผลการดำเนินงาน “ พัฒนาชุมชน/เมืองน่าอยู่” เป้าหมายที่ 1. การพัฒนา ชุมชนน่าอยู่ /เมืองน่าอยู่ ด้านกระบวนงาน (เหมือนเดิม) 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีนโยบายและแผนงาน 2. เจ้าหน้าที่ ผ่านการอบรม/สัมมนา 3. มีภาคี เครือข่าย มีส่วนร่วม 4. มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล
การวัดผลการดำเนินงาน “ พัฒนาชุมชน/เมืองน่าอยู่” เป้าหมาย ที่ 2 ผลสัมฤทธิด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านสัมฤทธิผล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสัมฤทธิผลเพื่อสนองตอบในปัญหาพื้นฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 3 ประเด็น 8 เรื่อง ได้แก่ - ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ ( 3 เรื่อง) - การจัดการของเสียชุมชน ( 3 เรื่อง ) - การใช้มาตรการด้านกฎหมาย ตาม พรบ.การสาธารณสุข ( 2 เรื่อง) การวัดความสำเร็จ แบ่งเป็น 4 ระดับ - ระดับ 1 ผ่านเกณฑ์ความสำเร็จ 2 เรื่อง - ระดับ 2 ผ่านเกณฑ์ความสำเร็จ 4 เรื่อง - ระดับ 3 ผ่านเกณฑ์ความสำเร็จ 6 เรื่อง - ระดับ 4 ผ่านเกณฑ์ความสำเร็จ 8 เรื่อง
การวัดผลการดำเนินงาน “ พัฒนาชุมชน/เมืองน่าอยู่” ด้านสัมฤทธิผล - ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ ( 3 เรื่อง) - ตลาดสดประเภทที่ 1 ผ่านเกณฑ์ตลาดสดน่าซื้อร้อยละ 70 - ร้านอาหาร/แผงลอย ผ่านเกณฑ์ CFGT ร้อยละ 70 - ระบบประปาในชุมชนผ่านเกณฑ์ประปาดื่มได้ - การจัดการของเสียชุมชน ( 3 เรื่อง ) - มูลฝอยทั่วไปมีระบบจัดการถูกหลักสุขาภิบาล - รถดูดสิ่งปฏิกูลมีระบบขนถ่ายและกำจัดถูกหลักสุขาภิบาล - ส้วมสาธารณะใน Setting เป้าหมาย รร. วัด รพ. ส.บริการน้ำมัน ผ่านเกณฑ์ HAS ร้อยละ 40 - การใช้มาตรการด้านกฎหมาย ตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข ( 2 เรื่อง) - การออกเทศบัญญัติ/ข้อกำหนดท้องถิ่น - การดำเนินการด้านเหตุรำคาญ
แนวคิดการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์แนวคิดการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เกิดสัมฤทธิผลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท. ดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม • ขับเคลื่อน • พัฒนา • สนับสนุน • ช่วยเหลือ มีความสำเร็จที่ไหนบ้าง ปชช. สสจ.
“พัฒนาชุมชน /เมืองน่าอยู่” เมือง/ชุมชน สะอาด เมือง/ชุมชน ได้รับการคุ้มครองสุขภาพ ตาม พรบ.สธ. เมือง/ชุมชน อาหารปลอดภัย ประเมิน ติดตามผล มีสัมฤทธิผล 3 ด้าน 8 เรื่อง 4 ระดับ จำแนก/จัดระดับ ผลสำเร็จ โครงการตลาดสดน่าซื้อ โครงการ CFGT โครงการประปาดื่มได้ โครงการจัดการของเสียชุมชน โครงการพัฒนาระบบกฎหมายฯ โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ โครงการ Healthy Setting พัฒนางานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนาระบบ เฝ้าระวัง ผ่านเกณฑ์กระบวนงานเมืองน่าอยู่ โครงการเมืองน่าอยู่ จำแนก/จัดระดับ คุณภาพ
ผลที่คาดจะได้รับ “ พัฒนาชุมชน/เมืองน่าอยู่” • จำแนก / จัดระดับ อปท. ที่ผ่านเกณฑ์กระบวนงาน • จำแนก / จัดระดับ อปท. ที่มีสัมฤทธิผลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
ผลที่คาดจะได้รับ “ พัฒนาชุมชน/เมืองน่าอยู่” จากแนวคิด “รวบปากถุง” (อธิบดีกรมอนามัย) จะใช้ยุทธการ “ท้องถิ่นทำได้(เอง)” เพื่อการกระตุ้นและแข่งขันโดยการจัดระดับท้องถิ่น กรมอนามัยสนับสนุนวิชาการ กระตุ้น สร้างกระแส พัฒนาศักยภาพ จนท. จัดการความรู้ให้แก่ท้องถิ่น และใช้ การเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เป็นเครื่องมือชี้เป้านำเสนอท้องถิ่น
แนวทางการจัดทำแผน โครงการเด็กไทยทำได้ ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
เป้าหมาย KPI รร.ส่งเสริมฯเข้าร่วมโครงการเด็กไทยทำได้ 80% รร.ที่เข้าร่วมโครงการฯผ่านเกณฑ์เด็กไทยทำได้ 80 % รร.ที่เข้าร่วมโครงการมีชมรมเด็กไทยทำได้ 100 %
แนวทางการดำเนินงาน • จัดทำแผน / แต่งตั้งคณะทำงาน / ประชุมชี้แจง • ตรวจประเมินรับรองโรงเรียนเด็กไทยทำได้โดยทีมประเมินระดับอำเภอ • สร้างแรงจูงใจและขวัญกำลังใจ ได้แก่ มอบเกียรติบัตรโรงเรียนที่ผ่านเกณฑ์ และจัดการประกวดโรงเรียนที่ดำเนินการดีเด่น • พัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนนำ ได้แก่การอบรมโครงงานสุขภาพ และค่ายเด็กไทยทำได้ • จัดมหกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • นิเทศติดตาม (สุ่มประเมิน รร.โดยทีมจังหวัด ≥ ร้อยละ 10)
โครงการต่อยอดการดำเนินงานเด็กไทยทำได้โครงการต่อยอดการดำเนินงานเด็กไทยทำได้ • การส่งเสริมให้มีโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ซึ่งจะต้องเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง เด็กไทยทำได้และเป็นโรงเรียน 1 อำเภอ 1 โรงเรียนในฝัน อันมีกิจกรรมสำคัญคือ Fitness / Obisity / Caries Free / Health Env. (โรงอาหาร น้ำ ส้วม ขยะ) / Health Life Style (สุขภาพทางเพศ อบายมุข อุบัติเหตุ ) • การเตรียมโรงเรียนเข้าร่วมประกวดโรงเรียนเด็กไทยทำได้ดีเด่น แบ่งโรงเรียน เป็น 3 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 มัธยมศึกษา ประเภทที่ 2 ประถมขนาดใหญ่ (นร.> 300 คน) /ขยายโอกาส ประเภทที่ 3 ประถมที่มีนักเรียน < 300 คน
ข้อสรุปการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธ์ศาสตร์ ปี 2551 การสร้างความเข้าใจกับผู้บริหารท้องถิ่นทุกระดับ การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร การสนับสนุนการสร้างเครือข่ายประชาชน เพื่อให้สอดคล้องกับ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ การพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การสร้างกระแสและสื่อสารสาธารณะ การสนับสนุนวิชาการ