1 / 40

PMQA

การประชุมเชิงปฏิบัติการ และให้ความรู้เกณฑ์รายรหัส หมวด 6 การจัดการกระบวนการ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554. PMQA. วันจันทร์ที่ 25 เมษายน 2554 ห้องประชุม... ศาลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. PMQA. Public Sector Management Quality Award. TQA.

neka
Download Presentation

PMQA

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมเชิงปฏิบัติการและให้ความรู้เกณฑ์รายรหัสการประชุมเชิงปฏิบัติการและให้ความรู้เกณฑ์รายรหัส หมวด 6 การจัดการกระบวนการ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 PMQA วันจันทร์ที่ 25 เมษายน 2554 ห้องประชุม... ศาลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

  2. PMQA Public Sector Management Quality Award TQA Thailand Quality Award MBNQA Malcolm Baldrige National Quality Award

  3. มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์การ ตัวชี้วัดที่ 11 (น้ำหนัก ร้อยละ 20) “ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)” • คำอธิบาย: • การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐตามตัวชี้วัดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2553 ที่ผ่านมา จังหวัดได้ยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) จำนวน 4 หมวด ได้แก่ หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 และหมวด 4 • สำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 สำนักงาน ก.พ.ร. ยังคงมุ่งเน้นเพื่อผลักดันให้จังหวัดปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนื่อง โดยวัดความสำเร็จของการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวดที่เหลือจำนวน 2 หมวด ได้แก่ หมวด 5 และหมวด 6 รวมทั้ง ให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบการบริหารจัดการที่ดีที่จังหวัดได้ดำเนินการมาแล้วในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2553 เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาองค์การตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับก้าวหน้า (Progressive Level: PL) ที่จะต้องดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ต่อไป 3

  4. มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์การ สาระสำคัญของแนวทางดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ส่วนใหญ่ใกล้เคียงกับปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2553 มีความแตกต่างเพียง 3 ประการ ดังนี้: ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ทั้ง 7 หมวด เนื่องจากจังหวัดจะต้องได้รับการตรวจรับรองการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) เพื่อเป็นพื้นฐานของการพัฒนาระบบบริหารจัดการในขั้น Progressive Level ที่จะต้องดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ต่อไป ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวด 7 เป็นตัวชี้วัดที่สะท้อนผลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ทั้ง 6 หมวด ซึ่งจังหวัดจะเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาหมวดละ 1 ตัวชี้วัด เพื่อสะท้อนผลลัพธ์ของกระบวนการ และเป็นจุดเน้นที่สำคัญที่จังหวัดต้องผลักดันการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย ประกอบกับตัวชี้วัดที่เลือกในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 นี้ จะเป็นส่วนหนึ่งของการตรวจรับรองการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการที่จังหวัดได้คัดเลือกมาในการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 (แบบฟอร์ม 4.2) และส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 นั้น สำนักงาน ก.พ.ร. ได้ให้คะแนนความครบถ้วนตามตัวชี้วัดย่อย 15.3.3 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แล้ว สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ขอยกเลิกการให้คะแนนผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดผลลัพธ์ดังกล่าว เนื่องจากได้มากำหนดเป็นตัวชี้วัดในหมวด 7 ซึ่งสะท้อนผลลัพธ์ของกระบวนการที่ครอบคลุมทุกหมวดแล้ว

  5. มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์การ ข้อแนะนำ : • การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้องค์การได้ปรับปรุงระบบบริหารจัดการให้ได้มาตรฐานและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ดังนั้น แม้ในหมวดที่จังหวัดได้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2553 ไปแล้วก็ตาม จังหวัดควรให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบบริหารจัดการที่ดีดังกล่าวให้ต่อเนื่อง เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบบริหารจัดการในขั้น Progressive Level ที่จะต้องดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ต่อไป • ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด ให้ดำเนินการเป็นภาพรวมจังหวัดที่ครอบคลุมทุกส่วนราชการประจำจังหวัดที่เป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค และให้ครอบคลุมถึงทุกหน่วยงานที่อยู่ในสังกัดของส่วนราชการประจำจังหวัดนั้นๆ ด้วย

  6. เกณฑ์ PMQA ระดับก้าวหน้า (Progressive Level : PL) เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับก้าวหน้า เป็นเกณฑ์ที่พัฒนาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้องค์การได้ปรับปรุงระบบบริหารจัดการให้ได้มาตรฐานและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน และเป็นกรอบการประเมินที่สามารถบ่งชี้ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ ซึ่งเป็นแนวทางปฏิบัติที่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และสะท้อนให้เห็นถึงระดับการพัฒนาของส่วนราชการโดยเฉลี่ยเป็นระดับที่กระบวนการสัมฤทธิ์ผล ดังนี้ • มีกระบวนการ/ระบบที่มีประสิทธิภาพและทำอย่างเป็นระบบเพื่อรองรับกิจกรรมในหัวข้อที่ประเมิน (Approach) • กระบวนการ/ระบบ เป็นที่เข้าใจยอมรับ และมีบทบาทสนับสนุนกระบวนการ/กิจกรรมในกิจกรรมด้านนี้ (Deployment) • องค์กรมีการประเมินประสิทธิผลของกระบวนการ/ระบบของกิจกรรมด้านนี้ และมีการปรับปรุงให้กระบวนการ/ระบบให้ดีขึ้น (Learning) • กระบวนการ/ระบบเกี่ยวกับกิจกรรมด้านนี้สอดรับ สนับสนุนกิจกรรมระดับสำคัญขององค์กรที่ระบุไว้ในภารกิจ/ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ (Integration)

  7. กรอบแนวคิดที่สำคัญ 3 ประการ เกณฑ์ PMQA ระดับก้าวหน้า (Progressive Level : PL) • Systematic คือ ความเป็นระบบของกระบวนการต่างๆ ของส่วนราชการที่จะทำให้ส่วนราชการสามารถดำเนินการไปได้อย่างชัดเจนและสอดคล้องกันทั่วทั้งองค์กร • 2) Sustainable คือ การแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่น มุ่งเน้นในการนำกระบวนการที่กำหนดไว้อย่างเป็นระบบไปสู่การปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอและทั่วถึง เพื่อนำไปสู่ความยั่งยืนของส่วนราชการ • 3) Measurable คือ การกำหนดตัวชี้วัดเพื่อใช้ในการควบคุม ติดตาม และประเมินผลการดำเนินการของส่วนราชการ รวมทั้งใช้ในการศึกษาเทียบเคียง (Benchmark) เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาส่วนราชการอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

  8. ลักษณะสำคัญขององค์กร หมวด 1,2,3,5,6 และหมวด 7 หมวด 4

  9. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ P : ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 1. การนำองค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  10. วงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐวงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

  11. Roadmap การพัฒนาองค์การ 2552 2554 2553 5 1 2 กรมด้านบริการ 6 3 4 • เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4 1 3 กรมด้านนโยบาย 6 2 5 • เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 2 1 5 จังหวัด 3 4 6 • เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 3 2 Successful Level สถาบันอุดมศึกษา 6 4 5 • เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

  12. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) “ระดับพื้นฐาน” หมายถึงกระบวนการเริ่มได้ผล • มีกระบวนการ/ระบบที่มีประสิทธิภาพและทำอย่างเป็นระบบเพื่อรองรับ กิจกรรมในหัวข้อที่ประเมิน (Approach) • กระบวนการ/ระบบ เป็นที่เข้าใจยอมรับ และเริ่มมีบทบาทสนับสนุน กระบวนการ/กิจกรรมในกิจกรรมด้านนี้ (Deployment) • องค์กรเริ่มมีการประเมินประสิทธิผลของกระบวนการ/ระบบของกิจกรรมด้านนี้ อาจมีการปรับปรุงให้กระบวนการ/ระบบให้ดีขึ้นบ้าง (Learning) • กระบวนการ/ระบบเกี่ยวกับกิจกรรมด้านนี้สอดรับ สนับสนุนกิจกรรมระดับ สำคัญขององค์กรที่ระบุไว้ในภารกิจ/ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ (Integration)

  13. 1. Continuous improvements 2. Breakthroughs 3. Standardization Continuous improvements Breakthroughs Standardization

  14. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) • มีแนวทาง (มีระบบ) • มีการนำไปใช้จริง • เริ่มเกิดผล • มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง • มีการพัฒนา • มีความก้าวหน้า • เริ่มบูรณาการกับระบบงานอื่น ๆ โดยสรุป • ประกอบด้วย 7 หมวดรวม 47 ประเด็น • แต่ละประเด็นเป็นการมุ่งเน้นกระบวนการและระบบงานพื้นฐานที่จำเป็น เพื่อตอบสนองประเด็นต่าง ๆ ของ พรฎ. ต่าง ๆ • จังหวัดต้องดำเนินการในแต่ละประเด็นให้ครบในทุกข้อและทุกหมวด

  15. การประเมิน หมวด 1-6ADLI Integration I PDCA Alignment Approach A Learning L Result Plan Check/Share/Act Deployment D Do

  16. หมวด 6 การจัดการกระบวนการ

  17. การดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 PM 1 PM 1 จังหวัดต้องกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากยุทธศาสตร์ พันธกิจ และความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของส่วนราชการ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (PM)

  18. A PM 1 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... • กำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าจาก ยุทธศาสตร์ พันธกิจ และความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • จังหวัดควรกำหนดหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนว่ากระบวนการที่ส่งผลต่อการดำเนินการตามพันธกิจ ยุทธศาสตร์ของจังหวัดหรือไม่ ซึ่งอย่างน้อยหลักเกณฑ์ในการกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า ต้องประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ พันธกิจ ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  19. การดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 PM 2 PM 2 จังหวัดต้องจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากความต้องการของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย และข้อกำหนดที่สำคัญที่ช่วยวัดผลการดำเนินงาน และ/หรือปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (PM)

  20. A D PM 2 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... • จัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากoความต้องการของผู้รับบริการ • oความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • oข้อกำหนดด้านกฎหมาย • oประสิทธิภาพของกระบวนการ • oความคุ้มค่าและการลดต้นทุน • การกำหนดตัวชี้วัดของกระบวนการที่สร้างคุณค่า

  21. L PM 2 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... • มีการติดตามผลของตัวชี้วัดของกระบวนการ เพื่อนำมาปรับปรุงกระบวนการ • การดำเนินการตาม PM 2 ต้องให้เจ้าของกระบวนการเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดที่สำคัญ และตัวชี้วัดกระบวนการรวมถึงการออกแบบกระบวนการ จึงจะทำให้การดำเนินการประสบความสำเร็จ

  22. ตัวอย่างแบบฟอร์มแสดงรายชื่อกระบวนการ

  23. การดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 PM 3 PM 3 จังหวัดต้องออกแบบกระบวนการจากข้อกำหนดที่สำคัญใน PM 2 และนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่สำคัญมาประกอบ การออกแบบกระบวนการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและปรับปรุงกระบวนอย่างต่อเนื่อง หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (PM)

  24. A D PM 3 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... • แสดงวิธีการออกแบบกระบวนการที่มาจากข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่า • แสดงปัจจัยอย่างน้อย 2 ปัจจัยดังต่อไปนี้ในการออกแบบ • o องค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่ เปลี่ยนแปลงไป • o ขั้นตอนระยะเวลาการปฏิบัติงาน • o การควบคุมค่าใช้จ่าย • o ปัจจัยเรื่องประสิทธิภาพและประสิทธิผล • มีการสื่อสารสร้างความเข้าใจให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการออกแบบกระบวนการและการนำไปปฏิบัติ

  25. L PM 3 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... • มีการตรวจสอบกระบวนการที่สร้างคุณค่าเพื่อวิเคราะห์หาจุดที่ควรปรับปรุง โดยการศึกษาวิเคราะห์กระบวนการ หรือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ร่วมกันของผู้ปฏิบัติงาน • กระบวนการที่สร้างคุณค่าทุกกระบวนการ ต้องออกแบบกระบวนการ โดยนำปัจจัยที่กำหนดไว้มาใช้ในการออกแบบ (การออกแบบอาจหมายถึงการกำหนดขั้นตอนของกระบวนงานที่ชัดเจน ) และเมื่อออกแบบแล้วต้องสื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ และสร้างระบบการควบคุมกระบวนการด้วย

  26. การดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 PM 4 PM 4 จังหวัดต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อการจัดการกระบวนการ เพื่อให้ส่วนราชการจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (PM)

  27. A L D PM 4 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... • มีแผนสำรองฉุกเฉินเพื่อป้องกับผลกระทบกับการจัดการกระบวนการในกรณีที่เกิดภาวะฉุกเฉิน(อาจพิจารณาความครอบคลุมของแผนประกอบด้วย เช่น อย่างน้อยควรมี แผนที่เกี่ยวข้องกับภัยธรรมชาติ สาธารณภัยต่าง ๆ) • สื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในแผนสำรองฉุกเฉินรับทราบถึงแนวทางปฏิบัติ • มีการทบทวนเพื่อปรับปรุงแผนสำรองฉุกเฉินให้เหมาะสมทันสมัยอยู่เสมอ

  28. PM 4 I ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... • แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงของระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่อการดำเนินการตามพันธกิจหลักของส่วนราชการว่าจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง • จังหวัดส่วนใหญ่มักมีแผนสำรองฉุกเฉิน แต่ขาดเรื่อง การสื่อสารให้คนในองค์กรรับทราบ นอกจากนี้ต้องมีการนำแผนสำรองฉุกเฉินมาทบทวน ให้เหมาะสมทันสมัยเสมอ

  29. การดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 PM 5 PM 5 จังหวัดต้องกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน โดยมีวิธีการในการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานดังกล่าวให้บุคลากรนำไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (PM)

  30. A D PM 5 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... • แสดงรายชื่อกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุนที่ผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหาร • คัดเลือกกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุนไม่น้อยกว่า 50% มาจัดทำมาตรฐานงาน • มาตรฐานการปฏิบัติงานอย่างน้อยควรประกอบด้วย WorkFlow และมาตรฐานคุณภาพงาน • แสดงวิธีการที่ส่วนราชการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานไปสู่การปฏิบัติ โดยการเผยแพร่มาตรฐาน การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน การมีระบบติดตามมาตรฐานงานเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด

  31. L PM 5 I ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... • มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำงานเพื่อการปรับปรุงกระบวนการ • มีการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน หรือมีระบบต่าง ๆ ที่สนับสนุนการปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามข้อกำหนดของกระบวนการ • สามารถอธิบายความเชื่อมโยงระหว่างหมวด 6 กับระบบ อื่น ๆ ได้

  32. PM 5 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... • คู่มือการปฏิบัติงานต้องประกอบด้วย Workflow และมาตรฐานงานหรือมาตรฐานคุณภาพงาน (ข้อกำหนดใน เชิงคุณภาพ)

  33. ตัวอย่างแบบฟอร์มการออกแบบกระบวนการตัวอย่างแบบฟอร์มการออกแบบกระบวนการ ชื่อกระบวนการ..........................................................................ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ................................................... No Yes No Yes จุดเชื่อมต่อระหว่างขั้นตอน (เช่น กรณีการเขียนกระบวนการ ไม่สามารถจบได้ภายใน 1 หน้า) การตัดสินใจ ทิศทาง/ การเคลื่อนไหว ของงาน จุดเริ่มต้น และ สิ้นสุดของกระบวนการ กิจกรรมและ การปฏิบัติงาน

  34. ตัวอย่าง1 การออกแบบกระบวนการ ชื่อกระบวนการ......กระบวนการรับหนังสือภายนอก.................ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ... ร้อยละของเอกสารที่รับได้ภายใน 2 วัน............ ลงทะเบียนรับ ตรวจสอบหนังสือเบื้องต้น เสนอ ผอ.สลธ. จัดส่งหนังสือไปยัง สำนักที่เกี่ยวข้อง สำนักเจ้าของเรื่อง ลงรับเอกสาร เสนอ ผอ.สำนัก เจ้าของเรื่อง

  35. การออกแบบกระบวนการ ตัวอย่าง2 ชื่อกระบวนการ......กระบวนการจัดทำแผนงานโครงการ.................ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ... ร้อยละข้อผิดพลาดในการจัดทำแผนงานโครงการ ศึกษาวิเคราะห์ แนวทางการดำเนินงาน จัดทำแผนงานโครงการ เสนอ ผู้บริหารเพื่ออนุมัติโครงการ No Yes จัดซื้อจัดจ้าง

  36. การดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 PM 6 PM 6 จังหวัดต้องมีการปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน เพื่อให้ผลการดำเนินการดีขึ้นและป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำ และความสูญเสียจากผลการดำเนินการ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (PM)

  37. A D PM 6 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... • แนวทาง/ วิธีการปรับปรุงกระบวนการ • แนวทาง/วิธีการในการป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำ และลดการสูญเสีย เช่นการบริหารความเสี่ยงของกระบวนการ • วิธีการสื่อสารมาตรฐานการปฏิบัติงานให้บุคลากรทราบ เช่น การประชุม หนังสือเวียน • ตัวอย่างกิจกรรม/ โครงการในการปรับปรุงกระบวนการ

  38. L PM 6 ประเด็นการตรวจจะพิจารณา จาก... • หลักฐานการทบทวนกระบวนการ เช่น การประชุมคณะทำงาน การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการทบทวนกระบวนการ • เป็นการแสดงตัวอย่างการปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าอย่างน้อย 1 กระบวนการ และ กระบวนการสนับสนุน อย่างน้อย 1 กระบวนการ ที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าสามารถทำให้ผลการดำเนินการดีขึ้นและป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำ และความสูญเสียจากผลการดำเนินการ (แต่ใน RM6 ต้องปรับปรุง 3 กระบวนการ)

  39. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) ให้ส่วนราชการเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด

  40. ถาม-ตอบ อ. ปิยะ มณีวงศ์ 081-342-6394 E-mail :kpi1081009@hotmail.com

More Related