1 / 49

เศรษฐกิจโลก กับ การก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เศรษฐกิจโลก กับ การก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. โดย นาย รชตพงศ สุขสงวน นาย เอกรินทร์ เลาจริยกุล วันที่ 21 พฤษภาคม 2551 โรงแรม มารวยการ์เด้น. เศรษฐกิจโลกปี 2550 และ แนวโน้มปี 2551. โดย เอกรินทร์ เลาจริยกุล ฝ่ายวิจัยธุรกิจ บมจ.ธนาคารกรุงไทย. World Output Growth.

nay
Download Presentation

เศรษฐกิจโลก กับ การก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เศรษฐกิจโลก กับ การก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดย นาย รชตพงศ สุขสงวน นาย เอกรินทร์ เลาจริยกุล วันที่ 21 พฤษภาคม 2551 โรงแรม มารวยการ์เด้น

  2. เศรษฐกิจโลกปี 2550 และ แนวโน้มปี 2551 โดย เอกรินทร์ เลาจริยกุล ฝ่ายวิจัยธุรกิจ บมจ.ธนาคารกรุงไทย

  3. World Output Growth Source : IMF

  4. World Output Growth 2549 2550 5.0% 4.9% ชะลอลงเพียงเล็กน้อย • เศรษฐกิจขยายตัวดีกว่าที่คาด • สหรัฐขยายตัวในครึ่งปีหลัง • ศก.เอเชีย โดยเฉพาะจีนและอินเดีย ขยายตัว ชดเชย ศก.ยุโรปและญี่ปุ่นที่ชะลอตัว • ปัจจัยเสี่ยง • ความไม่สมดุลของการค้าโลก • เงินเฟ้อสูงจากราคาน้ำมัน • อัตราแลกเปลี่ยนผันผวน • Subprime

  5. USA: GDP Growth USA: GDP Growth by Quarter สหรัฐอเมริกา Source : IMF Source : U.S. Department of Commerce

  6. ครึ่งปีแรก 1.7% ครึ่งปีหลัง 2.7% ภาคอสังหาฯ ชะลอตัว Wealth ภาคส่งออก การผลิต บริโภค สหรัฐอเมริกา (ต่อ) 2549 2550 2.9% 2.2% ค่าเงิน USD อ่อนค่า ทำสถิติสูงสุด ชดเชยอุปสงค์ในประเทศที่ชะลอตัว

  7. หนี้เสียใน SUBPRIME LOAN สถาบันการเงิน และกองทุนการเงิน สหรัฐ ตลาดเงินสหรัฐ เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว เกิดภาวะตึงตัว ประสบภาวะขาดทุนทำให้ขาดสภาพคล่อง ตลาดสินเชื่อ สถาบันการเงินเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ FED ตลาดเงินทั่วโลก สถาบันการเงิน และกองทุนการเงิน ทั่วโลก ลดดอกเบี้ยครั้งแรกในรอบ 3 ปี เกิดความผันผวน เทขายหลักทรัพย์พร้อม ๆ กัน สหรัฐอเมริกา (ต่อ) SUBPRIME

  8. EURO: GDP Growth Source : IMF EURO: GDP Growth by Quarter Source : Eurostat ยุโรป

  9. ยุโรป 2549 2550 2.8% 2.6% ครึ่งปีแรก 2.8% ครึ่งปีหลัง 2.4% • ปัญหา Subprime รุนแรงกว่าที่คาด • การลงทุนชะลอตัว • สภาพคล่องในระบบการเงินตึงตัว • การบริโภคชะลอตัว • ตลาดส่งออกชะลอลงตามสหรัฐ • USD อ่อนค่า  เงิน Euro แข็งค่า • เงินเฟ้อเพิ่มขึ้นตามราคาน้ำมัน • ECB ชะลอการปรับดอกเบี้ยใน Q3 • ภาคส่งออกขยายตัวดี • การผลิต & การจ้างงาน ขยายตัวดี • อัตราการว่างงานทำสถิติต่ำสุด • อัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับต่ำ • เยอรมนีปรับเพิ่ม TAX3% เป็น 19%

  10. JAPAN : GDP Growth Source : IMF JAPAN: GDP Growth by Quarter Source : Cabinet Office, Japan ญี่ปุ่น

  11. ญี่ปุ่น (ต่อ) 2549 2550 2.4% 2.1% ครึ่งปีแรก 2.4% ครึ่งปีหลัง 1.9% • การบริโภคในประเทศซบเซา • การลงทุนได้ผลกระทบจาก Subprime • สถาบันการเงินขาดทุนจาก CDOs • อัตราเงินเฟ้อกลับไปติดลบ • BOJ หยุดปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย • นายชินโซ อาเบะ ลาออกจากตำแหน่ง • คาดว่าจะหลุดพ้นจากภาวะเงินฝืด • ส่งออกขยายตัวดี • อัตราการว่างงานทำสถิติต่ำสุด

  12. CHINA : GDP Growth Source : IMF CHINA: GDP Growth by Quarter Source : National Bureau of Statistics of China จีน

  13. จีน (ต่อ) 2549 2550 11.1% 11.4% ครึ่งปีแรก 11.5% ครึ่งปีหลัง 11.3% - เพิ่มอัตราดอกเบี้ย 6 ครั้ง - เพิ่มอัตราเงินสดสำรองของธนาคารพาณิชย์ 9 ครั้ง • ขยายตัวสูง แม้ทางการจีนจะดำเนินมาตรการเข้มงวดมาโดยตลอด • การลงทุนขยายตัวสูง • ส่งออกทำสถิติสูงสุดอย่างต่อเนื่อง • เงินสำรองระหว่างประเทศทะลุระดับ 1.0 ล้านล้านดอลลาร์สรอ. แต่การขยายตัวอย่างร้อนแรง และวิกฤติอาหาร ทำให้เงินเฟ้อจีนทำสถิติ สูงสุดในรอบ 11 ปี และแรงกดดันด้านอัตราแลกเปลี่ยนยังมีอยู่

  14. Inflation ที่มา: US Department of Labor , Eurustat , Ministry of Internal Affairs and Communication และ National Bureau of Statistics of China

  15. ทิศทางเศรษฐกิจโลกปี 2551 ชะลอตัวต่อเนื่องท่ามกลางปัจจัยเสี่ยงรุมเร้า สหรัฐฯ เผชิญปัญหา Subprime ชะลอตัวลงตาม ยุโรป เงิน Euro แข็งค่าทำสถิติ เศรษฐกิจประเทศหลักชะลอตัวลง ญี่ปุ่น สหรัฐฯ & ประเทศคู่ค้าชะลอตัว จีน เงินเฟ้อพุ่งสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ ยังมีแรงขับเคลื่อนจาก จีน แม้จะชะลอลง แต่ยังขยายตัวสูง เศรษฐกิจเอเชียยังขยายตัวสูง อินเดีย ขยายตัวแข็งแกร่ง ตะวันออกกลาง ขยายตัวตามราคาน้ำมัน ประเทศอื่นๆ ASEAN ขยายตัวสูง

  16. ปัจจัยเสี่ยงสำคัญในปี 2551 • ปัญหา Subprime • ราคาน้ำมัน • อัตราดอกเบี้ย • ความไม่สมดุลของการค้าโลก • การกระจุกตัวของเงินสำรองระหว่างประเทศ • ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้

  17. การก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดย รชตพงศ สุขสงวน ฝ่ายวิจัยธุรกิจ บมจ.ธนาคารกรุงไทย

  18. มารู้จักอาเซียน • ความเป็นมา • สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East AsianNations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ • เริ่มต้นจากความร่วมมือของ 3 ประเทศ • ก่อตั้งอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ.2510 ที่ กรุงเทพฯ • สัญลักษณ์

  19. มารู้จักอาเซียน (ต่อ)

  20. มารู้จักอาเซียน (ต่อ) • ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ 2510 2538 2510 2540 2510 2540 2510 2542 2510 2527

  21. ความสำคัญของอาเซียน • ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ผ่านมา • เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) เริ่มใช้ปี 2536 • กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (AFAS) เริ่มใช้ปี 2539 • ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน (AICO) เริ่มใช้ปี 2539 • เขตการลงทุนอาเซียน (AIA) เริ่มใช้ปี 2541

  22. ความสำคัญของอาเซียน (ต่อ) • มูลค่าการค้าไทย – อาเซียน

  23. ความสำคัญของอาเซียน (ต่อ) • สัดส่วนมูลค่าการค้ารวมของไทย

  24. ความสำคัญของอาเซียน (ต่อ)

  25. ความสำคัญของอาเซียน (ต่อ)

  26. ความสำคัญของอาเซียน (ต่อ) • มูลค่าการค้าของไทยกับประเทศสมาชิก

  27. ความสำคัญของอาเซียน (ต่อ) • กลไกการดำเนินงานด้านเศรษฐกิจของอาเซียน • การประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit Meeting) หรือการประชุมระดับผู้นำของอาเซียน • การประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Ministers: AEM) • การประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซียน (Senior Economic Officials Meeting: SEOM) • การประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงานที่แต่งตั้งโดย SEOM • สำนักเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat)

  28. ความสำคัญของอาเซียน (ต่อ) • ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เป็นเลขาธิการอาเซียนปี 2551 – 2555 • ประเทศไทยเป็นประธานอาเซียนในปี 2551 • อาเซียนกำลังร่างแผนจัดตั้ง "ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) "

  29. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผู้นำอาเซียนเห็นชอบให้อาเซียนกำหนดทิศทางการดำเนินงานเพื่อไปสู่เป้าหมายการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผู้นำอาเซียนเห็นชอบให้อาเซียนกำหนดทิศทางการดำเนินงานเพื่อไปสู่เป้าหมายการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผู้นำอาเซียนเห็นชอบให้อาเซียนกำหนดทิศทางการดำเนินงานเพื่อไปสู่เป้าหมายการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2545 2546 2550 • ความเป็นมา

  30. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ต่อ) ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community: ASC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) AEC Blueprint • กฎบัตรอาเซียน Ten Nations One Community

  31. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ต่อ) • แผนงานสำคัญภายใต้ AEC Blueprint วัตถุประสงค์ 4 ด้าน ตลาดและ ฐานการผลิตร่วม สร้างเสริมขีดความ สามารถการแข่งขัน ลดช่องว่าง ความแตกต่าง บูรณาการเข้ากับ เศรษฐกิจการค้าโลก • --- แผนงาน ------ • ส่งเสริมการ • เคลื่อนย้ายสินค้า • บริการ การลงทุน • แรงงาน และ • เงินทุนที่เสรี โดยลด • อุปสรรคในด้านต่างๆ • ---- แผนงาน ------- • ส่งเสริมขีด • ความสามารถในด้าน • ต่างๆ เช่น นโยบาย • การแข่งขัน • ทรัพย์สินทางปัญญา • e-commerce ฯลฯ • ---แผนงาน ----- • ส่งเสริมการ รวมกลุ่มของประเทศ สมาชิก • ลดช่องว่าง/ความ แตกต่างของระดับ การพัฒนาระหว่าง สมาชิกเก่าและใหม่ • --- แผนงาน --- • ส่งเสริมการ รวมกลุ่มเข้ากับ ประชาคมโลก • ปรับประสานนโยบาย ในระดับภูมิภาค • สร้างเครือข่ายการ ผลิต/จำหน่าย ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

  32. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ต่อ) ปี 2553 ปี 2558 ภาษี 0% ลดภาษีตามลำดับ ภาษี 0% อาเซียน - 6 เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา • การเป็นตลาดฐานการผลิตร่วมกัน การเปิดเสรีการค้า “ ขจัดภาษีนำเข้าสินค้าทุกรายการ ” ส่งออกสินค้าไปอาเซียน ไม่ต้องเสียภาษีนำเข้า ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

  33. ปี 2558 ยกเลิกทั้งหมด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ต่อ) ปี 2553 ปี 2555 อาเซียน 5 ยกเลิกทั้งหมด ฟิลิปปินส์ ยกเลิกทั้งหมด ลาว พม่า กัมพูชา เวียดนาม • การเป็นตลาดฐานการผลิตร่วมกัน การเปิดเสรีการค้า “ ขจัดมาตรการกีดกันการค้าที่ไม่ใช่ภาษี ” เช่น การใช้โควตาภาษี, การออกใบอนุญาตนำเข้า , การอนุญาตให้หน่วยงานเฉพาะสามารถนำเข้าได้ ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

  34. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ต่อ) • บริการด้านธุรกิจ/วิชาชีพ สถาปัตยกรรมวิศวกรรมกฎหมาย บัญชี ฯลฯ) • บริการด้านสื่อสารคมนาคม • บริการด้านการก่อสร้าง • บริการด้านการจัดจำหน่าย • บริการด้านการศึกษา • บริการด้านสิ่งแวดล้อม • บริการด้านการเงิน • บริการด้านสุขภาพ • บริการด้านการท่องเที่ยว • บริการด้านนันทนาการ • บริการด้านการขนส่ง • บริการอื่นๆ • การเป็นตลาดฐานการผลิตร่วมกัน การเปิดเสรีภาคบริการ “ เป้าหมายเปิดเสรีสินค้าบริการ 12 สาขาในปี ค.ศ.2015 ”

  35. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ต่อ) ปี 2551 (2008) ปี 2553 (2010) ปี 2556 (2013) ปี 2549 (2006) ปี 2558 (2015) 51% 70% สาขา PS 49% :เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ ท่องเที่ยว การบิน 70% 70% 30% 49% 51% • การเป็นตลาดฐานการผลิตร่วมกัน การเปิดเสรีภาคบริการ “ Priority Sectors: PS 4 สาขาภายในปี ค.ศ.2010 ” โลจิสติกส์ สาขาอื่น

  36. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ต่อ) • การเป็นตลาดฐานการผลิตร่วมกัน การเปิดเสรีการลงทุน “ ประทศสมาชิกสามารถลงทุนในอาเซียนได้อย่างเสรี ” นักลงทุนต่างชาติในประเทศสมาชิกจะได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกับนักลงทุนท้องถิ่น ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

  37. ปัจจัยเสี่ยงที่อาจทำให้ AEC เป็นแค่ฝัน • การเมืองที่ไม่เอื้ออำนวย • ปัญหาประชาธิปไตยในพม่า • ระดับการพัฒนาที่แตกต่างระหว่างสมาชิกเก่าและใหม่ • แรงผลักดันจากจีน และญี่ปุ่นให้จัดตั้งThe East Asia Economic Caucus (EAEC) แทน

  38. ประโยชน์/โอกาสจากการจัดตั้ง AEC • ส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวทางด้านการค้าและการลงทุน • ลดอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาด ทั้งมาตรการด้านภาษี และมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี • ผู้บริโภครวมกว่า 550 ล้านคน • ยิ่งผลิตมาก ต้นทุนจะยิ่งลดลง • ลดการพึ่งพาตลาดในประเทศที่ 3 • ตลาดส่งออกสินค้าและบริการ และการนำเข้าวัตถุดิบ

  39. ประโยชน์/โอกาสจากการจัดตั้ง AEC (ต่อ) สินค้าที่มีโอกาสในอาเซียน • เกษตร : ข้าวโพด น้ำมันพืช(ทำจากเมล็ดทานตะวัน เมล็ดดอกคำฝอย เมล็ด ฝ้าย) มันสำปะหลัง ข้าว น้ำตาล • ผลิตภัณฑ์ประมง : ปลาสดหรือแช่เย็น ปลาที่ปรุงแต่งต่างๆ กุ้ง ฯลฯ • ยางพาราและผลิตภัณฑ์ยาง : รองเท้า ถุงมือ ของเล่น ฯลฯ • ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ : เนื้อไก่ เนื้อหมู • ผลิตภัณฑ์ไม้ : แผ่นชิ้นไม้อัด ไฟเบอร์บอร์ด ฯลฯ ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

  40. ประโยชน์/โอกาสจากการจัดตั้ง AEC (ต่อ) สินค้าที่มีโอกาสในอาเซียน • ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ : แผงวงจรพิมพ์ แผงวงจรไฟฟ้า วงจรรวม กล้อง ถ่ายวิดีโอ วิทยุติดตามตัว • ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ : แผ่นบันทึก ซีดีรอม ดีวิดี ฯลฯ • ยานยนต์ : ขนาดกระบอกสูบ > 1,000 cc • ส่วนประกอบ-อุปกรณ์ยานยนต์ : ถังน้ำมัน เครื่องยนต์ ไส้หมอน้ำ ฯลฯ • สิ่งทอ : เส้นใย กลุ่มใยยาวสังเคราะห์ ด้าย ผ้าพิมพ์ ฯลฯ • ผลิตภัณฑ์สุขภาพ : ยา เครื่องมือแพทย์ เครื่องสำอาง กระดาษผ้าอ้อม ฯลฯ ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

  41. ประโยชน์/โอกาสจากการจัดตั้ง AEC (ต่อ) • สร้างอำนาจการต่อรองของอาเซียนในเวทีโลก • เสียงมาก ย่อมดีกว่าเสียงเดียว • ดึงดูดให้ประเทศอื่น ๆ เข้ามาร่วมเจรจาต่อรอง • เพิ่มสวัสดิการและยกระดับความเป็นอยู่ของผู้บริโภคให้ดียิ่งขึ้น • ช่วยให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ • รู้แหล่ง และเลือกใช้ทรัพยากรในแต่ละประเทศได้อย่างคุ้มค่า • วัตถุดิบถูกลง ต้นทุนผลิตสินค้าต่ำลง ขีดความสามารถแข่งขันก็สูงขึ้น

  42. ประโยชน์/โอกาสจากการจัดตั้ง AEC (ต่อ) AEC สหภาพยุโรป EU จีน ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เกาหลี ตัวอย่าง: ลูกไม้ถักฟิลิปปินส์ ส่งไปปักในกัมพูชา กระดุมเวียดนาม ผ้ามาเลเซีย โรงงานผลิตในไทย ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

  43. ผลกระทบ/อุปสรรค • อุตสาหกรรมภายในประเทศได้รับผลกระทบจากการเข้ามาแข่งขันอย่างเสรีของสินค้าในภูมิภาคอาเซียน • อุตสาหกรรมที่ยังต้องพึงพาวัตถุดิบจากภายนอกอาเซียน จะมีต้นทุนการผลิตสูงขึ้น • ผลกระทบจากกรอบเวลาในการเร่งรัดจัดตั้งประชาคมอาเซียนที่เร็วขึ้นจากเดิม

  44. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการปรับตัวข้อเสนอแนะ/แนวทางในการปรับตัว • ภาครัฐ • ส่งเสริมให้ภาคเอกชน และภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมต่อการตัดสินใจของภาครัฐให้มากที่สุด • ตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือ หรือสนับสนุนการปรับตัว โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบ • ใช้ พ.ร.บ.มาตรการปกป้องการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น • ปรับยุทธศาสตร์นโยบายพลังงานของประเทศ

  45. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการปรับตัวข้อเสนอแนะ/แนวทางในการปรับตัว • ภาครัฐ (ต่อ) • ปรับปรุงและพัฒนาระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะระบบ Logistic • กำหนดแนวนโยบายด้านเศรษฐกิจมหภาคให้ชัดเจน • ดูแลและปกป้องผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งปัญหาแรงงานเด็ก และแรงงานอพยพ

  46. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการปรับตัว (ต่อ) • ผู้ประกอบการ • ศึกษากฎระเบียบ เงื่อนไขต่าง ๆให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน เช่น การสร้างมูลค่าเพิ่ม (value creation) • และการสร้าง brandname ให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล • ดำเนินกลยุทธ์การตลาดในเชิงรุก โดยเจาะถึงตลาดผู้ซื้อในต่างประเทศ • ปรับปรุงเครื่องจักร หรือนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามาใช้ • ให้ความสำคัญกับการทำ R&D

  47. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการปรับตัว (ต่อ) • ผู้ประกอบการ (ต่อ) • พัฒนาศักยภาพของบุคลากร • สร้างเครือข่ายพันธมิตรกับภาคเอกชนอื่น ๆ ในภูมิภาค • ศึกษาลู่ทางการค้าใหม่ๆ รวมถึงช่องทางในด้านธุรกิจอื่นๆ เพื่อรองรับการ • เปลี่ยนแปลง

  48. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการปรับตัว (ต่อ) • สถาบันการศึกษา / นักวิชาการ • ให้ความสำคัญกับการติดตาม และศึกษาผลกระทบของความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ภาครัฐกำลังจะจัดทำ และเสนอแนะรัฐบาลอย่างเป็นกลาง • เร่งผลิตงานวิจัยที่สามารถนำไปช่วยเพิ่มขีดความสามารถให้กับผู้ประกอบการของไทย • ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตรการบริหารธุรกิจภายใต้หลักเศรษฐกิจพอเพียง

  49. ขอบคุณครับ ฝ่ายวิจัยธุรกิจ บมจ.ธนาคารกรุงไทย www.ktb.co.th

More Related