1 / 87

สัญญาตั๋วเงิน

สัญญาตั๋วเงิน. บทนำเกี่ยวกับสัญญาตั๋วเงิน. สัญญาตั๋วเงินมีวิวัฒนาการมาจาก กฎหมายพ่อค้า( Merchant Law) การชำระหนี้ด้วยเงินสด ไม่ปลอดภัย การชำระหนี้ด้วยเงินสด ไม่สะดวก การชำระหนี้ด้วยเงินสด ไม่มีประโยชน์ในเรื่องการผ่อนเวลาการใช้เงิน. ข้อดี มีความน่าเชื่อถือ โอนง่าย

Download Presentation

สัญญาตั๋วเงิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สัญญาตั๋วเงิน

  2. บทนำเกี่ยวกับสัญญาตั๋วเงินบทนำเกี่ยวกับสัญญาตั๋วเงิน • สัญญาตั๋วเงินมีวิวัฒนาการมาจาก กฎหมายพ่อค้า(Merchant Law) • การชำระหนี้ด้วยเงินสด ไม่ปลอดภัย • การชำระหนี้ด้วยเงินสด ไม่สะดวก • การชำระหนี้ด้วยเงินสด ไม่มีประโยชน์ในเรื่องการผ่อนเวลาการใช้เงิน

  3. ข้อดี มีความน่าเชื่อถือ โอนง่าย ให้ความคุ้มครองแก่ผู้รับโอน ข้อเสีย ไม่สะดวกในกรณีต้องชำระหนี้จำนวนมาก ไม่ปลอดภัย ไม่สามารถผ่อนเวลาการใช้เงินได้ ดังนั้นจึง ไม่อาจควบคุมความเสียงได้ ข้อดีข้อเสียของการชำระหนี้ด้วยเงินสด

  4. สัญญาตั๋วเงิน ต้องมีข้อดี • สงวนข้อดี ลดจุดด้อย ของการชำระหนี้ด้วยเงินตรา • สะดวก • โอนได้ง่าย • ปลอดภัย • ให้ความคุ้มครองแก่ผู้รับโอน • มีความน่าเชื่อถือ • สามารถควบคุมความเสี่ยงได้ • มีประโยชน์ในด้านเครดิต สินเชื่อ

  5. ลักษณะทั่วไปของสัญญาตั๋วเงิน • สัญญาตั๋วเงินเป็นสัญญาซึ่งเกิดขึ้นเพื่อชำระหนี้ให้แก่มูลหนี้อื่น และเป็นการชำระหนี้ด้วยสิ่งอื่น • สัญญาตั๋วเงินสัญญาตั๋วเงินเป็นการชำระหนี้ที่มีเงื่อนไขไม่ใช่การแปลงหนี้ใหม่ • สัญญาตั๋วเงินเป็นตราสารเปลี่ยนมือ • สัญญาตั๋วเงินมีวัตถุแห่งหนี้ เป็นเงินตรา

  6. 1. สัญญาตั๋วเงินเป็นสัญญาซึ่งเกิดขึ้นเพื่อชำระหนี้ให้แก่มูลหนี้อื่น และเป็นการชำระหนี้ด้วยสิ่งอื่น ม.320 “อันการจะบังคับให้เจ้าหนี้รับชำระหนี้แต่เพียงบางส่วน หรือให้รับชำระหนี้เป็นอย่างอื่นผิดไปจากที่จะต้องชำระแก่เจ้าหนี้นั้น ท่านว่าหาอาจจะบังคับได้ไม่” ม.321 “ถ้าเจ้าหนี้ยอมรับการชำระหนี้อย่างอื่นแทนการชำระหนี้ที่ได้ตกลงกันไว้ ท่านว่าหนี้นั้นก็เป็นอันระงับสิ้นไป ........................................................................................ ถ้าชำระหนี้ด้วยออก ด้วยโอน หรือด้วยสลักหลังตั๋วเงินหรือประทวนสินค้าท่านว่าหนี้นั้นจะระงับสิ้นไปต่อเมื่อตั๋วเงินหรือประทวนสินค้านั้นได้ใช้เงินแล้ว”

  7. 1.1 สัญญาตั๋วเงินเป็นสัญญาซึ่งเกิดขึ้นเพื่อชำระหนี้ให้แก่มูลหนี้อื่น • ต้องมีมูลหนี้อื่น มูลหนี้ตั๋วเงินจึงจะสมบูรณ์ ถ้ามูลหนี้อื่นไม่มี มูลหนี้ตั๋วเงินก็ไม่สมบูรณ์ ผู้ซื้อบอกเลิกสัญญาซื้อขาย เนื่องจากผู้ขายผิดนัด ส่งมอบทรัพย์ ผู้ขาย ผู้ซื้อ ชำระราคา= เงิน ผู้ซื้อไม่ต้องรับผิดตามสัญญา ตั๋วเงินต่อผู้ขาย สัญญาตั๋วเงิน

  8. 1.2 สัญญาตั๋วเงินเป็นสัญญาซึ่งเกิดขึ้นเพื่อชำระหนี้ให้แก่มูลหนี้อื่น และเป็นการชำระหนี้ด้วยสิ่งอื่น • เจ้าหนี้ต้องยอมรับชำระหนี้ด้วยสัญญาตั๋วเงิน ลูกหนี้จึงจะชำระหนี้ด้วยสัญญาตั๋วเงินได้ คืนเงิน ผู้ให้กู้ ผู้กู้ ตั๋วเงิน

  9. ส.กู้ยืม ส่งมอบทรัพย์ ธนาคาร ผู้ขาย ผู้ซื้อ ชำระราคา= เงิน คืนเงิน ออกตั๋วเงิน โอนตั๋ว

  10. 2. สัญญาตั๋วเงินเป็นการชำระหนี้ที่มีเงื่อนไขไม่ใช่การแปลงหนี้ใหม่ ม.321 “ถ้าเจ้าหนี้ยอมรับการชำระหนี้อย่างอื่นแทนการชำระหนี้ที่ได้ตกลงกันไว้ ท่านว่าหนี้นั้นก็เป็นอันระงับสิ้นไป ........................................................................................ ถ้าชำระหนี้ด้วยออก ด้วยโอน หรือด้วยสลักหลังตั๋วเงินหรือประทวนสินค้าท่านว่าหนี้นั้นจะระงับสิ้นไปต่อเมื่อตั๋วเงินหรือประทวนสินค้านั้นได้ใช้เงินแล้ว”

  11. ตราบใดที่สัญญาตั๋วเงินยังไม่มีการใช้เงิน คู่สัญญาย่อมมีมูลหนี้ที่ผูกพันกันสองมูลหนี้ คือ มูลหนี้อันเป็นมูลเหตุของการออก โอน ตั๋วเงิน กับมูลหนี้สัญญาตั๋วเงิน • ถ้ามีการใช้เงินตามสัญญาตั๋วเงิน ก็จะเป็นเหตุให้สัญญาตั๋วเงินระงับเพราะมีการใช้เงิน และทำให้มูลหนี้อันเป็นมูลเหตุของการออก โอน ตั๋วเงินตามไปด้วย ตาม ป.พ.พ. ม.321 ว.3

  12. นิติกรรมที่ 1 ส่งมอบทรัพย์ ผู้ขาย ผู้ซื้อ ชำระราคา= เงิน นิติกรรมที่ 2 สัญญาตั๋วเงิน

  13. นิติกรรมที่หนึ่ง นิติกรรมที่หนึ่ง ส.กู้ยืม ส่งมอบทรัพย์ ธนาคาร ผู้ขาย ผู้ซื้อ ชำระราคา= เงิน คืนเงิน โอนตั๋ว ออกตั๋วเงิน นิติกรรมที่สอง นิติกรรมที่สอง

  14. 3. สัญญาตั๋วเงินมีลักษณะเป็นตราสารเปลี่ยนมือ • ต้องมีรายการตามที่กฎหมายกำหนด • ม.909, ม.983, ม.988 • สามารถโอนได้ตามวิธีการโอนตราสารเปลี่ยนมือ ไม่ต้องโอนตามวิธีการโอนสิทธิเรียกร้องสามัญ • ม.918, ม.919 • ให้ความคุ้มครองต่อผู้รับโอนตราสาร • ม.312 • ถ้าปราศจากตราสาร สิทธิตามสัญญาตั๋วเงินก็สูญสิ้นไปด้วย

  15. 4. สัญญาตั๋วเงินมีวัตถุแห่งหนี้ เป็นเงินตรา • สัญญาตั๋วเงินเป็นการชำระหนี้ให้แก่มูลหนี้ ที่มีวัตถุแห่งหนี้เป็นเงินตรา ดังนั้น สัญญาตั๋วเงินจึงมีวัตถุแห่งหนี้เป็นเงินตรา ธนาคาร ขึ้นเงิน ส่งมอบทรัพย์ เงิน ผู้ขาย ผู้ซื้อ ชำระราคา= เงิน เช็ค

  16. ประเภทของสัญญาตั๋วเงินประเภทของสัญญาตั๋วเงิน ม.898 “อันตั๋วเงินตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายนี้มีสามประเภทๆหนึ่ง คือตั๋วแลกเงิน ประเภทหนึ่งคือตั๋วสัญญาใช้เงิน ประเภทหนึ่งคือเช็ค” -ตั๋วแลกเงิน (Bill of Exchange) -ตั๋วสัญญาใช้เงิน (Promissory Note) -เช็ค (Cheque) สัญญาตั๋วเงิน -ตราสารเปลี่ยนมืออื่นๆ ไม่เป็นตั๋วเงินเช่น ใบหุ้น ใบประทวนสินค้า L/C

  17. ตั๋วแลกเงิน (Bill of Exchange) ผู้จ่าย สัญญากู้ยืม (ผู้กู้) (ผู้ให้กู้) ข ก ผู้สั่งจ่าย ผู้รับเงิน ชำระเงินคืนด้วยการออกตั๋วเงิน

  18. ตั๋วแลกเงิน (Bill of Exchange) ตั๋วแลกเงิน วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 ถึง ข. โปรดจ่ายเงิน ค. หรือผู้ถือ เมื่อเห็นตั๋วฉบับนี้จำนวน10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) ลงชื่อ ก ผู้สั่งจ่าย

  19. ตั๋วสัญญาใช้เงิน (Promissory Note) สัญญากู้ยืม ธนาคาร .ข (ผู้ให้กู้) ก (ผู้กู้) ผู้ออกตั๋ว ผู้รับเงิน ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน

  20. ตั๋วสัญญาใช้เงิน (Promissory Note) ตั๋วสัญญาใช้เงิน วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 ข้าพเจ้าสัญญาว่าจะใช้เงินให้แก่ ข. เมื่อสิ้นกำหนดเวลา 60 วันนับแต่เห็นตั๋วฉบับนี้จำนวน10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) ลงชื่อ ก ผู้สั่งจ่าย

  21. ธนาคาร สัญญาซื้อขาย ข ก (ผู้ขาย) (ผู้ซื้อ) ผู้สั่งจ่าย ผู้รับเงิน ออกตั๋วชำระหนี้ เช็ค (Cheque)

  22. ธนาคารกสิกรไทย จำกัด วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 โปรดจ่าย ค. หรือผู้ถือ จำนวน10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) เช็คเลขที่ 12345678 ลงชื่อ ก ผู้สั่งจ่าย

  23. การออกตั๋วแลกเงิน ตั๋วแลกเงิน ข้อความซึ่งผู้สั่งจ่ายจะเขียนลงในสัญญาตั๋วแลกเงิน มีอยู่ 2 ลักษณะ -ข้อความที่กฎหมายบังคับว่าต้องมี -ข้อความที่สามารถเขียนเพิ่มลงไปได้(option)

  24. ตั๋วแลกเงิน ม.908 “ตั๋วแลกเงิน คือหนังสือที่บุคคลคนหนึ่งอันเรียกว่าผู้สั่งจ่าย สั่งให้บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า ผู้จ่าย ให้จ่ายเงินให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งอันเรียกว่าผู้รับเงิน” ตั๋วแลกเงิน วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 ถึง ข. โปรดจ่ายเงิน ค. หรือผู้ถือ เมื่อเห็นตั๋วฉบับนี้จำนวน10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) ลงชื่อ ก ผู้สั่งจ่าย

  25. ตั๋วแลกเงิน (Bill of Exchange) ม.908 “ตั๋วแลกเงิน คือหนังสือที่บุคคลคนหนึ่งอันเรียกว่าผู้สั่งจ่าย สั่งให้บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า ผู้จ่าย ให้จ่ายเงินให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งอันเรียกว่าผู้รับเงิน” ผู้จ่าย ข สัญญากู้ยืม (ผู้ให้กู้) ค ก (ผู้กู้) ผู้สั่งจ่าย ผู้รับเงิน ชำเงินคืนด้วยการออกตั๋วเงิน ตั๋วแลกเงิน

  26. ข้อความที่กฎหมายบังคับว่าต้องมีในตั๋วเงิน ม.909 • ก. คำบอกชื่อว่าเป็นตั๋วแลกเงินม.909 (1) • คำบอกชื่อว่าเป็นตั๋วแลกเงิน ซึ่งจะเป็นภาษาไทยหรือภาษาอื่นก็ได้ • ตั๋วแลกเงิน • Bill of Exchange • ปรากฏที่ส่วนใดของตราสารนั้นก็ได้

  27. ตั๋วแลกเงิน วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 ถึง ข. โปรดจ่ายเงิน ค. หรือผู้ถือ เมื่อเห็นตั๋วฉบับนี้จำนวน10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) ลงชื่อ ก ผู้สั่งจ่าย

  28. วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 ถึง ข. โปรดจ่ายเงิน ค. หรือผู้ถือ เมื่อเห็นตั๋วแลกเงินฉบับนี้จำนวน10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) ลงชื่อ ก ผู้สั่งจ่าย

  29. ข. คำสั่งปราศจากเงื่อนไขให้จ่ายเงินเป็นจำนวนแน่นอนม.909 (2) • ข. 1 มีลักษณะเป็นคำสั่ง หมายถึง ข้อความที่ระบุให้ผู้จ่ายกระทำอย่างหนึ่งอย่างใด(ใช้เงินให้แก่ผู้รับเงิน) • “โปรดจ่าย................................................................” • “จ่าย........................................................................” • “กรุณาจ่าย..............................................................” • “ถ้าท่านจะกรุณา.....................................................” • “ถ้าท่านเห็นใจ........................................................”

  30. ข. 2 คำสั่งนั้นจะต้องเป็นคำสั่งที่ปราศจากเงื่อนไขในการจ่ายเงิน หมายความว่า หากผู้รับเงินนำตั๋วแลกเงินยื่นให้ผู้จ่ายใช้เงินผู้จ่ายจะต้องจ่ายเงินตามตั๋วแลกเงินนั้นโดยไม่มีเงื่อนไข • ผู้จ่ายมีสิทธิเลือกที่จะจ่ายหรือไม่จ่าย ได้เท่านั้น • ผู้จ่ายจะสร้างเงื่อนไขในการจ่ายเงินไม่ได้ • ผู้จ่ายมีสิทธิสอบสวนถึงตัวผู้ทรงตราสารตาม ม.310 เท่านั้น

  31. ตั๋วแลกเงิน วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 ถึง ข. โปรดจ่ายเงิน ค. หรือผู้ถือ เมื่อเห็นตั๋วฉบับนี้จำนวน10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) ลงชื่อ ก ผู้สั่งจ่าย

  32. วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 ถึง ข. โปรดจ่ายเงิน ค. หรือผู้ถือ เมื่อเห็นตั๋วแลกเงินฉบับนี้จำนวน10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) ลงชื่อ ก ผู้สั่งจ่าย ขณะที่ ค. ยื่นตั๋วให้ ข.ใช้เงินนั้น ข. จะสร้างเงื่อนไข ว่าต้องรอให้ตน ได้รับชำระหนี้จาก ก. ก่อนไม่ได้

  33. ข. 3 คำสั่งนั้นจะต้องเป็นคำสั่งให้จ่ายเงินอันเป็นจำนวนแน่นอน คำสั่งให้จ่ายเงินจำนวนแน่นอน • หมายถึง จำนวนเงินที่ผู้จ่ายจะต้องจ่ายตามตั๋วแลกเงินนั้นจะต้องสามารถที่จะคิดคำนวณได้จากหน้าตั๋วแลกเงิน • ไม่จำเป็นต้องเป็นจำนวนที่คงที่ แต่ต้องสามารถคิดคำนวณได้ เช่น ในตั๋วแลกเงินอาจจะมีการระบุดอกเบี้ยลงในตั๋วก็ได้

  34. วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 ถึง ข. โปรดจ่ายเงิน ค. หรือผู้ถือ เมื่อเห็นตั๋วแลกเงินฉบับนี้จำนวน10,000 x 15 บาท 100 ลงชื่อ ก ผู้สั่งจ่าย

  35. ค. ชื่อ หรือยี่ห้อผู้จ่าย • ชื่อ หรือยี่ห้อผู้จ่ายซึ่งหมายถึง บุคคลอันผู้สั่งจ่ายออกคำสั่งให้เป็นผู้จ่ายเงินตามตั๋วแลกเงิน ซึ่งผู้จ่ายนั้นจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ • อนึ่งผู้จ่ายนั้นหากยังมิได้ลงลายมือชื่อในตั๋วก็ยังไม่มีความรับผิดตามตั๋วเงิน คงเป็นฐานะเป็นเพียงบุคคลที่ผู้ทรงจะนำตั๋วเงินนั้นไปยื่นให้ใช้เงินเท่านั้น

  36. ง. วันถึงกำหนดใช้เงิน • คือ วันที่ผู้ทรงจะนำตั๋วแลกเงินไปยื่นให้ผู้จ่ายหรือผู้รับรองใช้เงินตามตั๋วแลกเงินนั้น

  37. วันถึงกำหนดใช้เงินตามตั๋วแลกเงินนั้นจะเป็นวันใดวันหนึ่งตามที่กำหนดไว้ในมาตรา 913 ก็ได้ กล่าวคือ • 1. ในวันใดวันหนึ่งที่กำหนดไว้ ได้แก่ วันใดวันหนึ่งอันผู้สั่งจ่ายกำหนดลงไว้เป็นอันแน่นอนว่าวันใด เช่น วันที่ 15 พ.ย. 2549 วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 ถึง ข. โปรดจ่ายเงิน ค. หรือผู้ถือ ในวันที่ 15 พ.ย. 2549จำนวน10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) ลงชื่อ ก ผู้สั่งจ่าย

  38. 2. เมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้นับแต่วันที่ลงในตั๋ว • เช่น “เมื่อสิ้นกำหนดเวลา 30 วันนับแต่วันที่ 1 มกราคม 2546 วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 ถึง ข. โปรดจ่ายเงิน ค. หรือผู้ถือ เมื่อสิ้นกำหนดเวลา 30 วันนับแต่วันออกตั๋วเงิน จำนวน10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) ลงชื่อ ก ผู้สั่งจ่าย

  39. ยื่นตั๋วให้ใช้เงิน ออกตั๋ว 30 วัน

  40. 3. เมื่อทวงถาม หรือเมื่อได้เห็น • เมื่อทวงถาม ได้แก่ เมื่อผู้ทรงได้มีหนังสือบอกกล่าวทวงถามให้ผู้จ่ายใช้เงิน • เช่น ให้ใช้เงินเมื่อทวงถามแก่.....นาย ค....... • เมื่อได้เห็น ได้แก่ เมื่อผู้ทรงได้ยื่นตั๋วให้ผู้จ่ายได้เห็นตั๋ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ใช้เงิน

  41. วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 ถึง ข. โปรดจ่ายเงิน ค. หรือผู้ถือ เมื่อทวงถามจำนวน10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) ลงชื่อ ก ผู้สั่งจ่าย

More Related