180 likes | 241 Views
วาระ 4.1. แนวทางการพัฒนาระบบสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อสนองนโยบายในการดูแลสุขภาพประชาชน. น.พ. ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข. สภาพปัญหา (Existing problems). ผลลัพธ์สุขภาพของประชาชน อัตราส่วนมารดาตายยังสูง 38 : 100,000 ไอคิวเด็กต่ำกว่า เฉลี่ย 6 % ( 2 % )
E N D
วาระ 4.1 แนวทางการพัฒนาระบบสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อสนองนโยบายในการดูแลสุขภาพประชาชน น.พ. ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สภาพปัญหา (Existing problems) • ผลลัพธ์สุขภาพของประชาชน • อัตราส่วนมารดาตายยังสูง 38: 100,000 • ไอคิวเด็กต่ำกว่า เฉลี่ย 6 % (2 %) • โรคเรื้อรังเพิ่มรวดเร็ว • เข้าไม่ถึงบริการ ฯลฯ • การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • เป้าหมายไม่คมชัด • มาตรการไม่สอดคล้อง ไม่บูรณาการ • การจัดงบประมาณสนับสนุนขาดการมีส่วนร่วม และกำกับ • การจัดระบบบริการและการลงทุน • แออัด รอนาน • ปฏิเสธการส่งต่อ • ขีดความสามารถแตกต่างกันระหว่างพวงบริการ • ลงทุนขาดทิศทาง ไม่ตอบสนองเป้าหมายสุขภาพ • ขาดประสิทธิภาพ
สภาพปัญหา (Existing problems) • กำลังคน • ขาดแคลน • ขวัญกำลังใจในการรักษาไว้ในระบบ • จำเป็นต้องเพิ่มประสิทธิภาพ • ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ • ภาระหนักของหน่วยบริการ • การแก้ไขมุ่งเน้นแต่เทคโนโลยี ยังมีปัญหาการจัดการ • บทบาทและการอภิบาลระบบ • ขาดกลไกที่มีประสิทธิผลระดับชาติ กระทรวง พวงบริการ • โครงสร้างกระทรวงปัจจุบันไม่รองรับ • ขาดความชัดเจนและการปฏิบัติตามบทบาท • (ผู้ซื้อ ผู้ให้บริการ ผู้กำกับ ผู้ประเมินผล)
เป้าหมายการพัฒนา (Goals)แผนสุขภาพ 2555-2559 • ประชาชนได้อะไร (ผลลัพธ์สุขภาพ : Health outcomes) • ลดแม่ตาย ลูกตาย • เพิ่มพัฒนาการ ไอคิวเด็ก วัคซีนครอบคลุมจริง • หยุดปัจจัยเสี่ยง ชะลอโรคเรื้อรัง • ฯลฯ • กลุ่มดี (การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค : P&P) • กำหนดเป้าหมายและมาตรการตามกลุ่มอายุ และเชิงประเด็น • บูรณาการในระดับพวงบริการ เชื่อมกับระบบบริการ • การจัดงบประมาณสนับสนุนอย่างมีส่วนร่วม (สธ+สปสช) และกำกับ • กลุ่มป่วย (การจัดระบบบริการและการลงทุน : Service plan) • ลดแออัด รับบริการใกล้บ้าน • การส่งต่อไร้รอยต่อ เบ็ดเสร็จในพวงบริการ • คุณภาพและความปลอดภัยบริการ • แผนการลงทุนที่ตอบสนองเป้าหมายสุขภาพ เป็นธรรม • เพิ่มประสิทธิภาพ ใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่า
กำหนดผลลัพธ์สุขภาพ เป้าหมายและตัวชี้วัด ร่วมกัน ของภาคีสุขภาพที่เกี่ยวข้อง • สป.สธ. และ กรม • สปสช. และผู้ซื้อบริการอื่นๆ • ภาคีต่างๆ (สสส., สช, สวรส) • มอบหมายให้ สวรส. และหน่วยงานวิชาการอื่นๆ , ทีมวิชาการที่เกี่ยวข้อง ทบทวนวิชาการ/สถานการณ์ กำหนดเป้าหมาย เสนอทางเลือก ตัวชี้วัด
1. กระบวนการส่งเสริมสุขภาพ • กำหนดเป้าหมาย มาตรการ ตามกลุ่มอายุ เชิงประเด็นและนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ประเด็น • โครงการพระราชดำริ • อาหารปลอดภัย • โรคเรื้อรัง • สุขภาพผู้ศาสนา (พระสงฆ์) • อื่นๆ เช่น แท๊กซี่ กลุ่มอายุ/ประชากร • เด็กและสตรี (EWEC) • 0-6 • วัยรุ่น • วัยแรงงาน • สูงอายุ • ผู้พิการ
กลไกการดำเนินงาน • การถ่ายทอดเป้าหมาย ตัวชี้วัด • กรม • ผู้ตรวจ, นพ.สสจ. ผ่านกลไกเครือข่ายบริการ (12 เครือข่าย) • การสนับสนุนงบประมาณ • สป.สธ. และ สปสช. ร่วมกำหนดแนวทางการจัดสรร งบ P&P ผ่านเครือข่ายบริการ
กรอบวงเงินการบริหารงบ P&P ปี 2556 P&P Capitation ( 232.36 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.404ล้านคน) คำนวณจาก 313.70 บาท/ปชก.UC 48.445 ล้านคน (1) NPP& Central procurement 25.72 บ.(11%) (4) สนับสนุนและส่งเสริม 7.68บ.(3%) (3) PPA 57.4บ. (25%) (2) PP E 124.96 บ. (54%) (5) ทันตกรรมส่งเสริม 16.60บ. (7%) ชุมชน (กองทุนอบต.) (40) หักเงินเดือน Capitation+ Workload 99.96 บ. จังหวัด/เขต (17.4) Quality Performance 25 บ. CUP/สถานพยาบาล/หน่วยบริการอื่นๆ กรณี สปสช.เขต 10 (กรุงเทพมหานคร) ให้สามารถบูรณการการบริหารงบ PPE และ PPA เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามที่กำหนด เนื่องจากไม่มีสาขาจังหวัดและบริบทพื้นที่แตกต่าง
2.ระบบบริการ (Service Plan) • ปรับแนวคิดการจัดระบบบริการ เพื่อ จัดทำแผนทรัพยากร • จัดบริการเพื่อแก้ไข ปัญหาสุขภาพ ในพื้นที่ • ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในเครือข่ายร่วมกัน ตั้งแต่ รพ.สต. ถึง รพศ.
2.ระบบบริการ (Service Plan) (ต่อ) • เริ่มที่ 8 ประเด็น • โรคหัวใจและหลอดเลือด (NCD เบาหวาน ความดัน) • มะเร็ง • อุบัติเหตุ • ทารกแรกเกิด, อนามัยแม่และเด็ก • สุขภาพจิต และจิตเวช • ปัญหาบริการ ใน 5 สาขา (สูติ ศัลย อายุรกรรม เด็ก กระดูก) • ปัญหาเฉพาะ (ตาและไต) • ปัญหาบริการด้านอื่นๆ เช่น การฟื้นฟูสภาพ, การจัดบริการเขตเมือง
กลไกการดำเนินงาน • คณะทำงาน 8 คณะ กำหนดแนวทาง ทบทวนกรอบ Service Plan • เครือข่ายบริการ 12 เครือข่าย โดยคณะกรรมการเครือข่าย (ผู้ตรวจฯ ประธาน) ทบทวนการจัดบริการตามกรอบ ให้สอดคล้องกับ ข้อมูล สภาพปัญหาของพื้นที่ • จัดทำแผนพัฒนาระบบบริการ (คน เงิน ของ)
3. ระบบสนับสนุน • กำลังคน • วางมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพ • จัดหาตำแหน่งที่ขาดแคลนตามความจำเป็นและเป้าหมายบริการ • จัดระบบค่าตอบแทนที่เป็นธรรม แก้ไขความขาดแคนน • พัฒนาศักยภาพเพื่อคุณภาพบริการ • การพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อลดภาระของบุคลากร • บูรณาการ ทั้ง สป.สธ., กรม. สปสช. • กำหนดแนวทางบริหารจัดการข้อมูล • การเพิ่มประสิทธิภาพ การเงินการคลัง
4.การพัฒนากลไกการดำเนินงาน4.การพัฒนากลไกการดำเนินงาน • กลไกระดับชาติ : • คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพแห่งชาติ • ( National Health Service Delivery Board) • รมว.สธ. ประธาน ปลัด สธ. เลขา • กลไกระดับกระทรวง : • คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข • ปลัด สธ. ประธาน รองปลัดที่ได้รับมอบหมาย เลขา • กลไกระดับเขต (พวง) บริการ • คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพเขต • ผู้ตรวจราชการ ประธาน นพ.สสจ.ที่ได้รับมอบหมาย เลขา
5.ทบทวนโครงสร้างในสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข5.ทบทวนโครงสร้างในสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข • โครงสร้างกระทรวง • สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ (OSM) • สำนักงานกำลังคน • สำนักสาธารณสุขต่างประเทศ • สำนักประกันสุขภาพ • ปรับปรุงสำนัก ฯลฯ
คณะทำงานและกรอบเวลา (working group & time line)
คณะทำงานและกรอบเวลา (working group & time line)
ข้อเสนอเพื่อพิจารณา • เห็นชอบ • หลักการและกรอบการดำเนินการ • กลไกการบริหารจัดการ
ร่วมใจสร้างเอกภาพ คุณภาพและประสิทธิภาพ เพื่อคนไทยทุกคนมีสุขภาพอย่างยั่งยืน