1.26k likes | 1.72k Views
วินัยและการรักษาวินัย. ตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑. วินัย. 1. กฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ 2. ที่กำหนดให้ข้าราชการประพฤติ ปฏิบัติ หรือละเว้นการประพฤติปฏิบัติ 3. ผู้ฝ่าฝืน จะได้รับโทษตามที่กำหนดไว้. สาเหตุของการกระทำผิดวินัย.
E N D
วินัยและการรักษาวินัย วินัยและการรักษาวินัย ตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑
วินัย 1. กฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ 2. ที่กำหนดให้ข้าราชการประพฤติ ปฏิบัติ หรือละเว้นการประพฤติปฏิบัติ 3. ผู้ฝ่าฝืน จะได้รับโทษตามที่กำหนดไว้
สาเหตุของการกระทำผิดวินัยสาเหตุของการกระทำผิดวินัย 1. ความไม่รู้ 2. งานกับคนไม่สมดุลกัน 3. อบายมุขต่าง ๆ 4. ตัวอย่างที่ไม่ดี 5. โอกาสเปิดช่องล่อใจ 6. ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
ผลกระทบจากการถูกลงโทษทางวินัยผลกระทบจากการถูกลงโทษทางวินัย 1. จิตใจ/ครอบครัว/ชื่อเสียง/ ความก้าวหน้า 2. เงินเดือน 3. บำเหน็จ/บำนาญ 4. คดีอาญา/คดีแพ่ง 5. คุณสมบัติการกลับเข้ารับราชการ
ที่มาของเรื่องร้องเรียน/กล่าวหาที่มาของเรื่องร้องเรียน/กล่าวหา 1.จากบุคคลที่ร้องเรียน/กล่าวหา 1.1 บัตรสนเท่ห์ 1.2 หนังสือร้องเรียน 1.3 สื่อสารมวลชน เช่น นสพ./วิทยุ/โทรทัศน์ 2. จากหน่วยงานอื่น เช่น 1.1 สตง./ปปช./ปปท./รัฐสภา/สำนักงาน ก.พ. 1.2 สำนักนายกรัฐมนตรี/ 1.3 ผู้ตรวจการแผ่นดิน 1.4 ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน/หน่วยงานต้นสังกัด 1.5 ตู้รับเรื่องร้องเรียน/โทรศัพท์สายตรง
ลงโทษวินัยปี 2555 ความผิด 4 ลำดับ ดังนี้ 1. ไม่ปฏิบัติหน้าที่ตาม กม./ระเบียบ 33 ราย 2. ละทิ้งหน้าที่ราชการ 24 ราย 3. ประพฤติชั่ว/ประพฤติเสื่อมเสีย 23 ราย 4. ทุจริตต่อหน้าที่ราชการ 13 ราย
สาเหตุของการกระทำผิดวินัยสาเหตุของการกระทำผิดวินัย 1. ความไม่รู้ 2. งานกับคนไม่สมดุลกัน 3. อบายมุขต่าง ๆ 4. ตัวอย่างที่ไม่ดี 5. โอกาสเปิดช่องล่อใจ 6. ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
วินัยข้าราชการพลเรือนสามัญ พ.ศ. 2551 ความหมายของวินัย... คือแบบแผนความประพฤติ ที่กำหนดให้ข้าราชการ 1. พึงควบคุมตนเอง และ 2. ควบคุมผู้ใต้บังคับบัญชา ให้ประพฤติ หรือปฏิบัติ ตามที่กฎหมาย ระเบียบแบบแผน ของทางราชการกำหนดไว้ 9
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างประจำ ของส่วนราชการ พ.ศ.2537 (ใช้สำหรับลูกจ้างประจำ/ลูกจ้างชั่วคราวโดยอนุโลม) ************ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย พนักงานราชการ พ.ศ.2547 ข้อกำหนดกรณีกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงและไม่ร้ายแรง ของ สป.สธ. ลงวันที่ 24 เม.ย.49 (ใช้สำหรับพนักงานราชการ)
การสั่งลงโทษทางวินัย และสั่งเลิกจ้าง
โทษทางวินัยข้าราชการ มี 5 สถาน ■ไม่ร้ายแรง 1.ภาคทัณฑ์ 2.ตัดเงินเดือน 3.ลดเงินเดือน ■ ร้ายแรง 1. ปลดออก 2. ไล่ออก
โทษทางวินัยลูกจ้างประจำ มี 5 สถาน ■ไม่ร้ายแรง 1.ภาคทัณฑ์ 2.ตัดค่าจ้าง 3.ลดขั้นค่าจ้าง ■ ร้ายแรง 1. ปลดออก 2. ไล่ออก
โทษทางวินัยของพนักงานราชการ มี 4 สถาน กรณีผิดวินัยไม่ร้ายแรง 1. ภาคทัณฑ์ 2. ตัดเงินค่าตอบแทน 3. ลดชั้นเงินค่าตอบแทน 4. ไล่ออก กรณีผิดวินัยอย่างร้ายแรง
โทษทางวินัยของลูกจ้างชั่วคราว เงินนอกงบประมาณ ตักเตือนในทางบริหาร/สั่งเลิกจ้างในบางกรณี นำไปเป็นแนวทางในการพิจารณาสั่งเลิกจ้าง โดยความเห็นชอบจาก คกก.บริหาร หน่วยบริการ ประเภทเงินบำรุง-ไม่ได้กำหนดไว้ กรณีทำผิดวินัยไม่ร้ายแรง กรณีทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง 15
ความหมาย “วินัย” พฤติกรรม งานราชการ เรื่องส่วนตัว 16
หลักเกณฑ์การพิจารณาว่าเป็นการกระทำผิดวินัยหลักเกณฑ์การพิจารณาว่าเป็นการกระทำผิดวินัย 1. กระทบต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของทางราชการ 2. กระทบต่อความมั่นคงของชาติ 3. กระทบต่อความผาสุกของประชาชน 4. กระทบต่อภาพลักษณ์และชื่อเสียง ของทางราชการ
แม้การกระทำนั้นจะเป็นแม้การกระทำนั้นจะเป็น เรื่องเดียวกัน มาตรา 82(7) ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคีกัน กรอบของจุดมุ่งหมาย ตัวอย่าง... B A การกระทำA ไม่กระทบต่อกรอบ... ไม่ผิดวินัย การกระทำ Bกระทบต่อกรอบ....... ผิดวินัย 18
ตัวอย่าง : กรอบของจุดมุ่งหมาย...เรื่องการแต่งกาย • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 6 มิถุนายน 2516 • เรื่องการไว้ผมและแต่งกายเพื่อเป็นแบบอย่างแก่ประชาชน ข้าราชการ,ลูกจ้าง ชาย ไม่ให้ไว้ผมยาวปิดตีนผม ข้าราชการ,ลูกจ้าง หญิง ไม่ให้สวมกระโปรงสั้นเหนือเข่า ข้าราชการ,ลูกจ้าง ชายและหญิง ไม่ให้คาดเข็มขัดใต้สะดือ “ ให้ถือว่าไม่ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ” 19
การกระทำต่อไปนี้กระทบต่อกรอบของจุดมุ่งหมาย?การกระทำต่อไปนี้กระทบต่อกรอบของจุดมุ่งหมาย? • 1. ดื่มสุรานอกเวลาราชการ แต่มาเมาในเวลา 2. มีเมียน้อย แต่เมียหลวง ไม่ว่าอะไร 20
วินัยข้าราชการ พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน ข้าราชการต้องมีวินัย ต่อ 1. ประเทศชาติ ม. 81 2. ประชาชน ม. 82(8),ม. 83(9),ม. 85(5) 3. ผู้บังคับบัญชา ม. 82(4),ม. 83(1)(2) 4. ผู้ร่วมงาน ม. 82(7),ม. 83(7) 5. ตำแหน่งหน้าที่ราชการ ม. 82(1)(2)(3)(5) (6)(9),ม. 83(3)(4)(5),ม. 85(1)(2)(3) 6. ตนเอง ม. 82(10),ม. 83(6)(8),ม. 85(4)(6)
หมวดที่ 6 วินัยและการรักษาวินัย ลักษณะของกฎหมายทางด้านวินัย ให้กระทำการอัน เป็นข้อปฎิบัติ ม.82 ต้องไม่กระทำ อันเป็นข้อห้าม ม.83 การกระทำ ที่เป็นวินัย ร้ายแรง ม.85
วินัยไม่ร้ายแรง วินัยร้ายแรง 1. การกระทำตาม ม. 81 2. การกระทำอันเป็นข้อปฏิบัติ ตาม ม. 82(1)-(11) 3. การกระทำอันเป็นข้อห้าม ตาม ม. 83(1)-(10) 1. การกระทำความผิด ในลักษณะร้ายแรง ตาม ม. 85 (1)-(8) 2.การกระทำตาม ม. 82 และตาม ม. 83 อัน เป็นเหตุ ให้เสียหายแก่ ราชการอย่างร้ายแรง
ข้อกำหนด วินัยข้าราชการพลเรือน วินัยต่อประเทศชาติ มาตรา 81 ข้าราชการต้องสนับสนุน การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขด้วย ความบริสุทธิ์ใจ
ข้อกำหนด วินัยข้าราชการพลเรือน วินัยต่อประเทศชาติ มาตรา 81 ข้าราชการต้องสนับสนุน การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขด้วย ความบริสุทธิ์ใจ
วินัยต่อประชาชน 1. ต้องต้อนรับ ให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรม และให้การสงเคราะห์แก่ประชาชนผู้ติดต่อราชการเกี่ยวกับ หน้าที่ของตน มาตรา 82(8)
2. ต้องไม่ดูหมิ่น เหยียดหยามกดขี่ หรือ ข่มเหงประชาชนผู้ติดต่อราชการ มาตรา 83(9) 3 ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหง หรือ ทำร้ายประชาชน ผู้ติดต่อราชการอย่างร้ายแรง มาตรา 85(5) (ผิดร้ายแรง
1. ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และเที่ยงธรรม มาตรา 82(1) ซื่อสัตย์.. ตรงไปตรงมา,ไม่คดโกง, ไม่หลอกลวง สุจริต..ที่ดีที่ชอบตามคลองธรรม เที่ยงธรรม..ไม่ลำเอียง วินัยต่อตำแหน่งหน้าที่
2. ต้องไม่อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยตำแหน่ง หน้าที่ราชการของตนหาประโยชน์ ให้แก่ตนเอง หรือ ผู้อื่น มาตรา 83(3) อาศัยตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน ประโยชน์...เป็นประโยชน์ที่ควรได้
ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่จัดการหรือ ดูแลกิจการใด เข้ามีส่วนได้เสีย เพื่อประโยชน์ สำหรับตนเองหรือผู้อื่นเนื่องด้วยกิจการนั้น ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 1-10 ปี และปรับตั้งแต่ 2,000-20,000 บาท ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา152 31
3. ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง แก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือ ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติ หน้าที่ราชการโดยทุจริตม.85(1)(ผิดร้ายแรง) เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ทุจริตต่อหน้าที่ราชการ
ป.อาญา “โดยทุจริต” • หมายถึง เพื่อแสวงหาประโยชน์ • ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมาย • สำหรับตนเอง หรือผู้อื่น
มติ ค.ร.ม.วันที่ 21 ธ.ค.2536 (นร 0205/ว 234 ลว. 24 ธ.ค.2536) - การลงโทษผู้กระทำผิดวินัยฐานทุจริต ควรลงโทษเป็นไล่ออกจากราชการ - การนำเงินที่ทุจริตไปแล้วมาคืน หรือ มีเหตุอันควรปรานีอื่นใด ไม่เป็นเหตุ ลดหย่อนโทษเป็นปลดออกจากราชการ
การทุจริตที่พบบ่อยๆ 1. เช็ค/ใบถอนเงิน - เซ็นลอย / เขียนผิดระเบียบ แล้วเติมจำนวนเงินเพิ่มภายหลัง - แก้ไข จำนวนเงิน/ผู้รับเงิน - ปลอมมือผู้มีอำนาจลงนาม - ให้ จนท.การเงิน ร่วมเซ็นด้วย 2. การออกเช็ค โดยไม่ได้ตกลงกับธนาคาร ให้โอนระหว่างบัญชี 3. ถอนเงินราชการนำไปใช้ส่วนตัว 4. เขียนใบเสร็จตัวจริง-สำเนา ไม่ตรงกัน แล้วยักยอกเงิน 5. แก้ไขข้อมูลเงินเดือน 6. ทำหลักฐานซื้อ/จ้าง/การอบรม/การไปราชการ เท็จ เบิกเงิน 7. เขียนใบเสร็จเท็จ/ปลอมใบตรวจรับพัสดุและการจ้าง เบิกเงิน 8. รับเงินแล้วไม่นำเข้าบัญชีราชการ 9. นำเอกสารเดิม มาหมุนเวียนเบิกจ่ายซ้ำ
4. ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการ ให้เกิดผลดีหรือความ ก้าวหน้าแก่ราชการ ด้วยความ ตั้งใจ อุตสาหะ เอาใจใส่ และรักษาประโยชน์ของทางราชการ มาตรา 82(3) 36
5. ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็น ไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของทางราชการ มติคณะรัฐมนตรี นโยบายของรัฐบาล และปฏิบัติตามระเบียบแบบแผน ของทางราชการมาตรา 82(2) 37
กฎหมายและระเบียบของทางราชการกฎหมายและระเบียบของทางราชการ ที่กำหนดให้มีอำนาจ/หน้าที่ กฎหมาย, กฎ กฎหมาย หรือ กฎ ใดก็ได้ ที่กำหนด “อำนาจ หรือหน้าที่” ไว้ เช่น กำหนดให้เป็น พนักงานเจ้าหน้าที่ ระเบียบของทางราชการ ต้องเป็นระเบียบเฉพาะ เช่น ระเบียบการเงิน/พัสดุ ที่กำหนด “หน้าที่” ไว้
บทกำหนดโทษ ผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบฯ นี้ ข้อ 10 สรุป...ผู้ใดไม่ว่าจะมีอำนาจตามระเบียบนี้หรือไม่ก็ตาม กระทำโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่อ หรือโดยทุจริต ถือว่าผู้นั้นกระทำผิดวินัย (1) กระทำโดยทุจริต หรือเป็นเหตุให้ทางราชการ เสียหายอย่างร้ายแรง ให้ลงโทษอย่างต่ำปลดออก (2) ถ้าการกระทำเป็นเหตุให้ทางราชการเสียหาย ไม่ร้ายแรง ให้ลงโทษอย่างต่ำตัดเงินเดือน (3) ถ้าการกระทำไม่เป็นเหตุให้ทางราชการเสียหาย ให้ลงโทษภาคทัณฑ์ หรือว่ากล่าวตักเตือนเป็น ลายลักษณ์อักษร o
o การแบ่งซื้อหรือแบ่งจ้างโดยลดวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง ในครั้งเดียวกัน เพื่อให้วงเงินต่ำกว่าที่กำหนด โดยวิธีหนึ่ง หนึ่งวิธีใด หรือเพื่อให้อำนาจสั่งซื้อ หรือจ้างเปลี่ยนแปลงไป จะกระทำมิได้ (ข้อ 22 วรรค 2)
การแบ่งซื้อ / แบ่งจ้าง(ข้อ ๒๒ วรรค ๒) การแบ่งซื้อ แบ่งจ้าง หมายถึง การแบ่งวงเงินที่จะซื้อ /จ้าง ในครั้งเดียวกัน ออกเป็นหลายครั้ง โดยไม่มีเหตุผล /ความจำเป็น และ มีเจตนาที่จะหลีกเลี่ยง ๑) ให้ผู้มีอำนาจสั่งซื้อ /สั่งจ้าง เปลี่ยนไป ๒) แบ่งวงเงิน ให้ลดลงเพื่อเปลี่ยนวิธีจัดหาพัสดุ
องค์ประกอบ และมติของคณะกรรมการ องค์ประกอบ - ประธาน และกรรมการ เป็นข้าราชการระดับ ๓ ขึ้นไป อย่างน้อย ๓ คน (ส.เวียน/ว๑๕๕ลว.๑พ.ค.๕๐ ให้พนักงานมหาวิทยาลัย เป็นกรรมการ ตามข้อ๓๔ ได้) - แต่งตั้งกก.เป็นครั้ง ๆ ไป / คำสั่งแต่งตั้งไม่มีรูปแบบ ข้อห้ามแต่งตั้งกรรมการซ้ำกัน ๑. กก.เปิดซองสอบราคา /หรือกก.พิจารณาผลประกวดราคา ห้ามเป็นกรรมการตรวจรับพัสดุ ๒. กก.รับ-เปิดซองประกวดราคาห้ามเป็นกก.พิจารณาผลประกวดราคา มติกรรมการ-ประธาน/กรรมการต้องมาประชุมลงมติไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง -ให้ถือเสียงข้างมาก ถ้าเท่ากัน ให้ประธานชี้ขาด - เว้นแต่คกก.ตรวจรับพัสดุ/งานจ้างให้ถือมติเอกฉันท์
ข้อยกเว้น ไม่แต่งตั้งในรูปคณะกรรมการ ๑. การซื้อ/การจ้างวงเงินไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท (ข้อ๓๕วรรคท้าย)-จะแต่งตั้งข้าราชการ /ลูกจ้างประจำ/พ.ราชการ/พ.มหาวิทยาลัย(กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/ว ๑๕๕ ลว. ๑ พ.ค. ๕๐) เพียงคนเดียวที่มิใช่ผู้จัดซื้อจัดจ้าง เป็นผู้ตรวจรับ พัสดุ/งานจ้าง ก็ได้ ๒. กรณีงานจัดทำเอง (ข้อ ๑๕) -ให้แต่งตั้งผู้ควบคุมรับผิดชอบในการจัดทำเอง -และแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจการปฏิบัติงาน ( เว้นแต่ มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบอยู่แล้ว)
หลักการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง 1.ต้องตรวจรับ ก.ของมี ข.ของครบ ค.ของถูกต้อง (สัญญา/ข้อตกลง/SPEC) 2. ถ้าไม่มี่/ไม่ครบ/ไม่ถูกต้อง จะต้องรายงาน
การตรวจรับพัสดุ ข้อ ๗๑ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ มีหน้าที่ดังนี้ (๑) ตรวจรับพัสดุ ณ ที่ทำการของผู้ใช้พัสดุนั้น หรือสถานที่ซึ่งกำหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลง การตรวจรับพัสดุ ณ สถานที่อื่น ในกรณีที่ไม่มีสัญญาหรือข้อตกลง จะต้องได้รับอนุมัติจากหัวหน้าส่วนราชการก่อน
(๒) ตรวจรับพัสดุให้ถูกต้องครบถ้วนตามหลักฐานที่ตกลงกันไว้ สำหรับกรณีที่มีการทดลองหรือตรวจสอบในทางเทคนิคหรือทางวิทยาศาสตร์ จะเชิญผู้ชำนาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับพัสดุนั้นมาให้คำปรึกษา หรือส่งพัสดุนั้นไปทดลองหรือตรวจสอบ ณ สถานที่ของผู้ชำนาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒินั้นๆ ก็ได้
(๒) ตรวจรับพัสดุให้ถูกต้องครบถ้วนตามหลักฐานที่ตกลงกันไว้ สำหรับกรณีที่มีการทดลองหรือตรวจสอบในทางเทคนิคหรือทางวิทยาศาสตร์ จะเชิญผู้ชำนาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับพัสดุนั้นมาให้คำปรึกษา หรือส่งพัสดุนั้นไปทดลองหรือตรวจสอบ ณ สถานที่ของผู้ชำนาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒินั้นๆ ก็ได้
ในกรณีจำเป็นที่ไม่สามารถตรวจนับเป็นจำนวนหน่วยทั้งหมดได้ ให้ตรวจรับตามหลักวิชาการสถิติ (๓) โดยปกติให้ตรวจรับพัสดุในวันที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างนำพัสดุมาส่ง และให้ดำเนินการให้เสร็จสิ้นไปโดยเร็วที่สุด
ในกรณีจำเป็นที่ไม่สามารถตรวจนับเป็นจำนวนหน่วยทั้งหมดได้ ให้ตรวจรับตามหลักวิชาการสถิติ (๓) โดยปกติให้ตรวจรับพัสดุในวันที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างนำพัสดุมาส่ง และให้ดำเนินการให้เสร็จสิ้นไปโดยเร็วที่สุด
(๔) เมื่อตรวจถูกต้องครบถ้วนแล้ว ให้รับพัสดุไว้และถือว่าผู้ขายหรือผู้รับจ้างได้ส่งมอบพัสดุถูกต้องครบถ้วนตั้งแต่วันที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างนำพัสดุนั้นมาส่ง แล้วมอบแก่เจ้าหน้าที่พัสดุพร้อมกับทำใบตรวจรับโดยลงชื่อไว้เป็นหลักฐานอย่างน้อยสองฉบับ-------------------------