300 likes | 480 Views
มิติของการบริหารจัดการ และประเด็นปัญหาการวิจัย. โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ชูชีพ พุทธประเสริฐ รองคณบดีฝ่ายนโยบายและแผน คณะศึกษาศาสตร์. มิติของการบริหารจัดการและประเด็นปัญหาการวิจัย. มิติของการบริหาร :. Skills. Roles + Functions. Process.
E N D
มิติของการบริหารจัดการและประเด็นปัญหาการวิจัยมิติของการบริหารจัดการและประเด็นปัญหาการวิจัย โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ชูชีพ พุทธประเสริฐ รองคณบดีฝ่ายนโยบายและแผน คณะศึกษาศาสตร์
มิติของการบริหารจัดการและประเด็นปัญหาการวิจัยมิติของการบริหารจัดการและประเด็นปัญหาการวิจัย มิติของการบริหาร : Skills Roles + Functions Process
Roles / Functions กับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารการศึกษา • บทบาทและหน้าที่ขององค์การ / หน่วยงานทางการศึกษาที่เหมาะสมและก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดควรเป็นเช่นไร • ยุทธศาสตร์ในการสร้าง / พัฒนาบทบาทและหน้าที่ขององค์การ / หน่วยงานทางการศึกษาให้เป็นไปเพื่อคุณภาพควรเป็นเช่นไร
Roles / Functions กับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารการศึกษา (ต่อ) • มีปัจจัย / องค์ประกอบใดบ้างที่ส่งผลต่อการแสดงบทบาท / หน้าที่ขององค์การ / หน่วยงานได้ดีที่สุด • มาตรฐานตัวบ่งชี้ เกณฑ์การพิจารณาที่ใช้วัดความมีประสิทธิภาพของการแสดงบทบาท / หน้าที่ขององค์การ / หน่วยงานทางการศึกษา ควรมีอะไรบ้างและควรเป็นอย่างไร
Roles / Functions กับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารการศึกษา (ต่อ) • มีวิวัฒนาการ / พัฒนาการของบทบาท / หน้าที่ขององค์การ / หน่วยงานทางการศึกษาเป็นมาอย่างไร • แนวโน้มของบทบาท หน้าที่ขององค์การ / หน่วยงานทางการศึกษาควรเป็นอย่างไร
Skills กับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารการศึกษา • การพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในตำแหน่งต่าง ๆ ควรดำเนินการอย่างไร (รูปแบบ / ยุทธศาสตร์การพัฒนา) • ทักษะและพฤติกรรมที่แสดงออกใดบ้าง ที่จะใช้วัดหรือประเมินความเหมาะสม / การเข้าสู่ตำแหน่งต่าง ๆ ของบุคลากรทางการศึกษา
Processกับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารการศึกษาProcessกับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารการศึกษา • กระบวนการ / การจัดการที่มีประสิทธิภาพขององค์การ / หน่วยงานทางการศึกษาควรเป็นอย่างไร (บางส่วนของกระบวนการ / ทั้งกระบวนการ) • ยุทธศาสตร์ / รูปแบบการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ในการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ในองค์การ / หน่วยงานทางการศึกษาควรเป็นอย่างไร
Processกับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารการศึกษา(ต่อ)Processกับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารการศึกษา(ต่อ) • ยุทธศาสตร์ / รูปแบบการบริหารจัดการในองค์การด้านอื่น ๆ ที่สำคัญ จำเป็นและเป็นธรรมชาติขององค์การ เช่น ความขัดแย้ง / การเปลี่ยนแปลง / คุณภาพ เป็นต้น ควรเป็นอย่างไร • มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์พิจารณาคุณภาพองค์การ / หน่วยงานด้านกระบวนการควรเป็นอย่างไร • เทคนิควิธีใดบ้างที่จะช่วยพัฒนากระบวนการบริหารจัดการคุณภาพให้ประสบผลสำเร็จ
มิติของการบริหารจัดการและประเด็นปัญหาการวิจัยมิติของการบริหารจัดการและประเด็นปัญหาการวิจัย มิติขององค์การ : โครงสร้าง คนและ สังคมของคน องค์การ งาน / กิจกรรม เทคโน ฯ / นวัตกรรม
มิติด้านโครงสร้างองค์การกับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารการศึกษามิติด้านโครงสร้างองค์การกับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารการศึกษา • โครงสร้างองค์การ / โครงสร้างทางการบริหารที่มีประสิทธิภาพขององค์การ / หน่วยงานทางการศึกษาระดับต่าง ๆ ควรเป็นอย่างไร (การปรับรื้อโครงสร้าง / การออกแบบโครงสร้างใหม่) • ยุทธศาสตร์ / รูปแบบการบริหารจัดการภายใต้โครงสร้าง (เดิม / ใหม่) ให้มีประสิทธิภาพควรดำเนินการอย่างไร
มิติด้านโครงสร้างองค์การกับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารการศึกษา (ต่อ) • วิวัฒนาการ / พัฒนาการของโครงสร้างการบริหารจัดการองค์การ / หน่วยงานทางการศึกษาระดับต่าง ๆ เช่น การศึกษาขั้นพื้นฐาน / อาชีวศึกษา / อุดมศึกษา / การเจาะลึกในรายสถาบันเป็นมาอย่างไรและแนวโน้มจะเป็นอย่างไร • การกระจายอำนาจ / การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่เป็นรูปธรรมในระดับต่าง ๆ ควรเป็นอย่างไร (สถานศึกษา / อปท. / สพฐ. / สกอ. / สอศ. )
มิติด้านคนและสังคมของคนกับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์การพัฒนา การบริหารทางการศึกษา • รูปแบบ / ยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมในการบริหารจัดการบุคลากรและสร้างวัฒนธรรมองค์การควรเป็นอย่างไร (เฉพาะภารกิจใดภารกิจหนึ่ง หรือทั้งระบบ) • เทคนิควิธีที่ควรนำมาใช้เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการบุคลากรและวัฒนธรรมองค์กร ควรเป็นอย่างไร (เทคนิคที่น่าสนใจ เช่น KM / LO / TQM / BSC / MC / QA / TQA / ISO
มิติด้านคนและสังคมของคนกับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารทางการศึกษา (ต่อ) • การสร้างคุณภาพของคนเพื่อการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพควรดำเนินการอย่างไร เช่น แรงจูงใจ / ขวัญกำลังใจ / ศักยภาพด้านต่าง ๆ ของบุคลากรที่ส่งผลต่อการทำงาน (เน้นการแสวงหานวัตกรรมต่าง ๆ มาใช้เพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากรเป็นหลัก)
มิติด้านงาน / กิจกรรมกับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารการศึกษา • แนวทางการพัฒนางาน / กิจกรรมตามภารกิจขององค์การให้มีคุณภาพจะเป็นอย่างไร (เน้นงานตามภารกิจของแต่ละองค์การ / หน่วยงานในลักษณะเฉพาะหรือทั้งระบบ) • ผลการใช้นวัตกรรมที่สร้างขึ้นหรือคัดเลือกมาใช้จะส่งผลต่องานและกิจกรรมตามภารกิจขององค์การหรือไม่ อย่างไร • ผลการประเมินและพัฒนางาน / กิจกรรมที่องค์การหรือหน่วยงานรับผิดชอบอยู่ เป็นอย่างไร (ประเมิน / นำเสนอแนวทางพัฒนาทั้งเชิงนโยบายและการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม)
มิติด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมกับปัญหาการวิจัยยุทธศาสตร์การพัฒนา การบริหารการศึกษา • แนวทาง / รูปแบบการบริหารจัดการเทคโนฯ / นวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพควรเป็นอย่างไร • ผลการใช้เทคโนฯ / นวัตกรรมที่สร้างขึ้นหรือคัดเลือกมาใช้จะส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์การหรือไม่ อย่างไร • มีเทคโนฯ / นวัตกรรมอะไรบ้างที่องค์การ / หน่วยงานระดับต่าง ๆ นำมาใช้จนประสบผลสำเร็จ ทั้งในระดับสากล / ประเทศ / ท้องถิ่น / สถาบัน (สังเคราะห์ / สร้าง / ทดลองใช้ / ปรับ,พัฒนา )
รูปแบบการวิจัยที่ควรเป็น : วิจัยและพัฒนา (R&D) ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ / สร้าง / ทดลองใช้ / ประเมิน / ปรับและพัฒนา ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม / เลือก / นำมาใช้จริง / ประเมิน / เสนอแนวปฏิบัติ
รูปแบบการวิจัยที่ควรเป็น : วิจัยปฏิบัติการ (Action Research) ศึกษาตามกระบวนการ / เทคนิควิธีที่นำมาใช้ / ประเมินผล / เสนอแนวปฏิบัติ ศึกษาข้อมูลในองค์การ / ระบุปัญหา / ทบทวน / ชี้ชัด / หาทางเลือกร่วมกัน / วางแผนปฏิบัติ / ปฏิบัติ / ประเมิน / ปรับปรุง / กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติ
รูปแบบการวิจัยที่ควรเป็น : วิจัยเอกสาร (Documentary Research) รวบรวม / คัดเลือก / วิเคราะห์ / สังเคราะห์ / นำเสนอผล / นำเสนอทิศทาง • วิจัยอนาคต (Future Research) EFR EDFR
รูปแบบการวิจัยที่ควรเป็น : วิจัยแบบผสม (Mixed Methodology) การใช้วิธีวิจัยหลายวิธีเพื่อตอบปัญหาการวิจัยให้ตรงที่สุด เช่น ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพและปริมาณ / สร้าง / หาประสิทธิภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ (Delphi) / ทดลองใช้ / ประเมิน / หารูปแบบที่เหมาะสมที่สุด / ใช้จริง / ประเมิน / ปรับปรุงพัฒนา ศึกษา วิจัยอนาคต / วางแผนรองรับ / ปฏิบัติตามแผน / ตรวจสอบ ประเมิน / ปรับปรุง พัฒนา
ประเด็น (Issues) ที่กำลังอยู่ในความสนใจเป็นพิเศษ : • เกี่ยวกับโครงสร้างการบริหารจัดการ เช่น การถ่ายโอนการจัดการศึกษา การปรับรื้อโครงสร้างการบริหารจัดการระดับสถานศึกษา / เขตพื้นที่ การจัดตั้งสำนักงานในเขตพื้นที่เพื่อบริหารจัดการโรงเรียนมัธยม การปรับและพัฒนาโครงสร้างการบริหารจัดการอาชีวศึกษา การปรับและพัฒนาโครงสร้างการบริหารสถาบันอุดมศึกษาสู่องค์กรในกำกับ
ประเด็น (Issues) ที่กำลังอยู่ในความสนใจเป็นพิเศษ :(ต่อ) • เกี่ยวกับคน / สังคมของคนในองค์การ เช่น การจัดการความขัดแย้งในองค์การ (Conflict Management) การจัดการการเปลี่ยนแปลง (Changing Management) การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)
เกี่ยวกับคน / สังคมของคนในองค์การ (ต่อ) การสร้างพฤติกรรมของบุคลากรที่จำเป็นต่อการพัฒนา เช่น ความพอเพียง / แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ / พันธสัญญากับองค์การ /ความทุ่มเท / ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ / การมีส่วนร่วม / การกระจายอำนาจ / การประสานงานและการสื่อสาร / ความศรัทธาต่อองค์การ / ความภักดีต่อองค์การ ฯลฯ การแก้ปัญหาพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น ความเครียด / ความฉลาดทางอารมณ์ / การถดถอย เป็นต้น การเข้าสู่ตำแหน่ง / วิทยะฐานะของบุคลากรทางการศึกษา
ประเด็น (Issues) ที่กำลังอยู่ในความสนใจเป็นพิเศษ :(ต่อ) • เกี่ยวกับงาน / กิจกรรมในองค์การ เช่น การสร้าง / พัฒนาระบบประกันความสำเร็จในการปฏิบัติงานของบุคลากร การใช้ / แสวงหาแนวทางการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพในหน่วยงานที่มีปัญหาในการปฏิบัติงาน เช่น ความสัมพันธ์ , ร่วมมือกับชุมชน / การบริหารการเงินและงบประมาณ / การติดตามผู้สำเร็จการศึกษา / การเร่งรัดให้จบตามเวลา / การนิเทศภายใน / การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ / งานพัฒนาหลักสูตร / การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ / การแก้ปัญหาป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา / การวางแผนกลยุทธ์ / การประเมินผลการปฏิบัติงาน เป็นต้น
ประเด็น (Issues) ที่กำลังอยู่ในความสนใจเป็นพิเศษ :(ต่อ) • เกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมในองค์การ เช่น เทคนิควิธีที่เหมาะสมต่อการพัฒนาองค์การที่สำคัญจำเป็นปัจจุบัน ได้แก่ ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน / ระบบประกันคุณภาพของสกอ. / สอศ. / รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) / ระบบการประเมินภายนอกของสมศ. / การสร้างเครื่องมือที่ใช้วัดประเมินคุณภาพตามมาตรฐานของสมศ. เช่น วัดความคิด วิเคราะห์ของผู้เรียน / วัดคุณธรรม จริยธรรม เป็นต้น / การสร้างมาตรฐานตัวบ่งชี้คุณภาพการจัดการศึกษาที่ยังไม่ชัดเจน เช่น การศึกษานอกระบบ / การศึกษาพิเศษ / การศึกษาของพระสงฆ์ / การจัดการศึกษาโรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัย / การจัดการศึกษาโรงเรียนสองภาษา / การจัดการศึกษาโรงเรียนแบบ EP / การจัดการการศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน / การจัดการศึกษาปฐมวัย เป็นต้น
เกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมในองค์การ(ต่อ)เกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมในองค์การ(ต่อ) รูปแบบ / ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการสารสนเทศ / เทคโนโลยีสารสนเทศของเขตพื้นที่การศึกษา / สถานศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษาอื่น ๆ เน้นการสร้างระบบ / พัฒนาระบบ / การใช้ระบบหรือฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาการจัดการศึกษา
ประเด็น (Issues) ที่กำลังอยู่ในความสนใจเป็นพิเศษ :(ต่อ) • จากผลการประชุมสัมมนาที่จัดโดยหน่วยงานทางการศึกษาต่าง ๆ และการวิเคราะห์เอกสาร การประชุมสมัชชาคุณภาพการศึกษาของสกศ. (23-24 พ.ย. 2550) - ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ควรเป็นอย่างไร เช่น การแสวงหาความรู้ / คุณธรรม / การคิดวิเคราะห์ / ภาวะผู้นำ , ผู้ตาม / จิตสาธารณะ / ขยันหมั่นเพียร / การทำงานร่วมกับคนอื่น / แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ เป็นต้น
การประชุมสมัชชาคุณภาพการศึกษาของสกศ. (23-24 พ.ย. 2550) (ต่อ) - ยุทธศาสตร์การพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพควรเป็นอย่างไร เช่น ทักษะการสอน / การวิจัยเพื่อพัฒนาวิชาชีพ / ทักษะในการให้บริการวิชาการแก่สังคม / การเป็นที่ปรึกษาที่ดี / การนิเทศ ติดตาม / การจัดการความรู้ เป็นต้น - ยุทธศาสตร์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่มีประสิทธิภาพควรเป็นอย่างไร เช่น ทักษะในการจัดทำสารสนเทศ / การใช้สารสนเทศ / การถ่ายทอด แลกเปลี่ยนข้อมูล เป็นต้น
การประชุมสมัชชาคุณภาพการศึกษาของสกศ. (23-24 พ.ย. 2550) (ต่อ) - ยุทธศาสตร์การพัฒนาการจัดระบบการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาที่มีคุณภาพควรเป็นอย่างไร เช่น การบริหารจัดการ / โครงสร้างและระบบการศึกษา / การวางแผนทางการศึกษา / การนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ / การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นต้น - ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของสถานศึกษาควรเป็นอย่างไร เช่น การวางแผนพัฒนาของสถานศึกษา / เครือข่ายการจัดการศึกษา / การกระจายอำนาจ / การมีส่วนร่วม / การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ เป็นต้น - ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ควรเป็นอย่างไร เช่น รูปแบบการมีส่วนร่วม / องค์กรเครือข่ายการมีส่วนร่วม / กิจกรรมการมีส่วนร่วม / การวัดและประเมินผลการมีส่วนร่วม เป็นต้น
จากผลการประชุมสัมมนาที่จัดโดยหน่วยงานทางการศึกษาต่าง ๆ และ การวิเคราะห์เอกสาร (ต่อ) จากกรอบแนวคิดการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งของศูนย์พัฒนาโครงการหลวง - ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนควรเป็นอย่างไร - ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนควรเป็นอย่างไร - ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ควรเป็นอย่างไร - ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาการดูแลรักษาสิ่งสาธารณประโยชน์ ควรเป็นอย่างไร
จากผลการประชุมสัมมนาที่จัดโดยหน่วยงานทางการศึกษาต่าง ๆ และ การวิเคราะห์เอกสาร (ต่อ) จากวิสัยทัศน์ประเทศไทย (แผนพัฒนาระยะที่ 10) - ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมอยู่เย็นเป็นสุข (Green and Happiness Society) ควรเป็นอย่างไร - ยุทธศาสตร์การพัฒนาครอบครัวเข้มแข็ง ควรเป็นอย่างไร - ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมสมานฉันท์ ควรเป็นอย่างไร - ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพ ควรเป็นอย่างไร (การจัดการป่าชุมชน / แหล่งน้ำ) - ยุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงาน / วัยแรงงาน ควรเป็นอย่างไร - ยุทธศาสตร์การพัฒนา / สร้างระบบบริหารจัดการที่ดี ควรเป็นอย่างไร - ยุทธศาสตร์การสร้างสังคมภูมิปัญญา ควรเป็นอย่างไร