1 / 45

การดำเนินการส่งเสริมการเกษตรในระดับท้องถิ่นของ ศบกต.

การดำเนินการส่งเสริมการเกษตรในระดับท้องถิ่นของ ศบกต. โดย ว่าที่ ร.ต.นรินทร์ แขมพิมาย ผู้อำนวยการส่วนพัฒนางานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสริมการเกษตร. วัตถุประสงค์. เพื่อ 1. บทบาทของ ศบกต. ในการส่งเสริมการเกษตรของ กรมส่งเสริมการเกษตร

natala
Download Presentation

การดำเนินการส่งเสริมการเกษตรในระดับท้องถิ่นของ ศบกต.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินการส่งเสริมการเกษตรในระดับท้องถิ่นของ ศบกต. โดย ว่าที่ ร.ต.นรินทร์ แขมพิมาย ผู้อำนวยการส่วนพัฒนางานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสริมการเกษตร

  2. วัตถุประสงค์ เพื่อ 1. บทบาทของ ศบกต. ในการส่งเสริมการเกษตรของ กรมส่งเสริมการเกษตร 2. บทบาทของ ศบกต. ในการส่งเสริมการเกษตรของ อปท.

  3. 1.1 ตาม พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ภารกิจ - การเพิ่มศักยภาพของเกษตรกรในการผลิต แปรรูป การเพิ่มมูลค่า ในสินค้าเกษตร - กำหนดมาตรฐานและแนวทางในการส่งเสริมการเกษตร การควบคุมสินค้า และผลิตภัณฑ์ - การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรสู่เกษตรกร เพื่อสร้างรายได้และความมั่นคง ในการผลิตและการประกอบอาชีพการเกษตร 1. กรมส่งเสริมการเกษตร

  4. มีอำนาจหน้าที่ 1) ส่งเสริมและพัฒนาเกษตร องค์กรเกษตรกร 2) ฝึกอาชีพเกษตรกร และให้บริการทางการเกษตร 3) พัฒนา ส่งเสริมและประสานการถ่ายทอดความรู้ด้านการผลิต การจัดการผลผลิตพืช ประมง ปศุสัตว์แก่เกษตรกร 4) ปฏิบัติงานอื่นตามที่กฎหมายกำหนด กระทรวง คณะรัฐมนตรีมอบหมาย

  5. 1.2 พ.ร.บ. วิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548มาตรา 24 • ให้สำนักงานเกษตรจังหวัด ทำหน้าที่และรับผิดชอบงาน • ของคณะกรรมการวิสาหกิจชุมชนจังหวัด • 2. ให้กรมส่งเสริมการเกษตร ทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขานุการ ของคณะกรรมการ

  6. กรมส่งเสริมการเกษตรถ่ายโอนภารกิจให้แก่ อปท. จำนวน 10 ภารกิจ การถ่ายโอนภารกิจลักษณะ รัฐดำเนินการร่วมกับ อปท. ปรับเปลี่ยนบทบาท เป็นที่ปรึกษา ให้คำแนะนำ และสนับสนุนการดำเนินงาน แก่ อปท. 1.3 พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. พ.ศ.2542 และตามประกาศ กกถ. พ.ศ. 2543 และ เพิ่มเติม พ.ศ. 2550

  7. ภารกิจกรมส่งเสริมการเกษตรที่ถ่ายโอนให้แก่ อปท. ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต ด้านการวางแผน/ การส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว • ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล • -การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร - การลงทุนเชิงธุรกิจเกษตร • -การจดทะเบียนสมาชิก - การตั้งศูนย์และให้บริการ 1. การสำรวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร 2. การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตร ระดับตำบล 3. การบริการข้อมูล และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 4. การรวบรวมส่งเสริมพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น *5. การช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติ 6. การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช 7. การฝึกอบรมอาชีพการเกษตร 8. การรวมกลุ่มและพัฒนากลุ่ม 9. การกระจายพันธุ์ * ทั้งหมดเป็นภารกิจซึ่งเลือกทำโดยอิสระ * ยกเว้นข้อ 5 เป็นหน้าที่ที่ต้องทำร่วมกับรัฐ (แก้ไขกฎหมาย) 1.ระเบียบ กค.ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยพิบัติ กรณีฉุกเฉิน ปี 46แก้ไขเพิ่มเติม ปี 49 และปี 51 2. พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารรภัย ปี 50 ม. 30

  8. 2. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ภารกิจของ สถ. “ส่งเสริม อปท. โดยการพัฒนาและ ให้คำปรึกษาด้านการจัดทำแผน ฯลฯ ”  เพื่อให้ อปท.มีความเข้มแข็งและมีศักยภาพในการบริการสาธารณะ มีทิศทางการพัฒนาที่สอดคล้องแนวนโยบายของรัฐ

  9. อำนาจหน้าที่ สถ. มี 11 ข้อ สรุปโดยรวมได้ดังนี้ - ให้ช่วยเหลือสนับสนุน อปท. ให้สามารถดำเนินการให้เป็นไป ตามกฎหมาย นโยบายของรัฐและระเบียบหลักเกณฑ์ที่กำหนด - ประสานงานเกี่ยวกับการพัฒนาท้องถิ่น

  10. 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำนาจหน้าที่ตาม พ.ร.บ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติม ปี 42 และ 46 พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. 2546 พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท.พ.ศ.2542 ประกาศ กกถ. พ.ศ. 2543 และ ประกาศ กกถ. ฉบับที่ 2 พ.ศ.2551 ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของ อปท. พ.ศ.2548 ประกาศ กกถ. เรื่องเงินอุดหนุนทั่วไป ฯลฯ

  11. 3.1 พ.ร.บ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล(พ.ศ.2537, และแก้ไข พ.ศ.2542) อำนาจหน้าที่ อบต.มาตรา 67มีหน้าที่ต้องทำ 1) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก 2) รักษาความสะอาดของถนน ฯลฯ และที่สาธารณะ รวมทั้งกำจัดขยะมูลฝอย 3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ * 4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5) ส่งเสริมการศึกษาและวัฒนธรรม * 6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็กเยาวชน ฯลฯ 7) คุ้มครอง ดูแล บำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม * 8) บำรุงรักษาศิลปะ จารีประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรม 9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมาย 11

  12. อำนาจหน้าที่ อบต.มาตรา 68 อาจจัดทำ *1) ให้น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตร 2) ให้มีและบำรุงไฟฟ้าหรือแสงสว่าง 3) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ 4) ให้มีและบำรุงรักษาสถานที่ประชุม การกีฬา ฯ *5) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจกรรมสหกรณ์ *6) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว *7) บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร 8) การคุ้มครองและรักษาทรัพย์สินของราษฎร 9) หาประโยชน์จากทรัพย์สิน อบต. 10) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือและท่าข้าม 11) กิจกกรมเกี่ยวกับการพาณิชย์ *12) การท่องเที่ยว 13) การผังเมือง

  13. 3.2 พ.ร.บ. เทศบาลตำบล • อำนาจหน้าที่มาตรา 50มีหน้าที่ต้องทำ 1. รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน 2. ให้มีและบำรุงทางบกและทางน้ำ 3. รักษาความสะอาดของถนน หรือทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดขยะมูลฝอย และสิ่งแวดล้อม **4. มีการป้องกันและกำจัดโรคติดต่อ 5. ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง 6. ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม * *7. ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ** 8. บำรุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรม อันดีของท้องถิ่น 9. หน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของเทศบาล

  14. อำนาจหน้าที่มาตรา 51อาจจัดทำ 1. ให้มีน้ำสะอาดหรือการประปา 2. ให้มีโรงฆ่าสัตว์ 3. ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือและท่าข้าม 4. ให้มีสุสานและฌาปนสถาน *5. บำรุงและส่งเสริมการทำมาหากินของราษฎร *6. ให้มีและบำรุงสถานที่ทำมาหากินของราษฎร 7. ให้มีและบำรุงรักษาการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น 8. ให้มีและบำรุงทางระบายน้ำ 9. เทศพาณิชย์

  15. อบจ. อำนาจหน้าที่ตามมาตรา 45 (9 ข้อ) 1. ตราข้อบัญญัติโดยไม่ขัดแย้งกับกฎหมาย 2. ทำแผนพัฒนา อบจ.และประสานการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด ตามนโยบายที่ ครม.กำหนด 3. สนับสนุนสภาตำบลและราชการส่วนท้องถิ่นอื่นในการพัฒนา การเกษตรของท้องถิ่น 4. ประสานและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ของสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น

  16. 6. 7. คุ้มครอง ดูแล บำรุงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม บำรุงรักษาศิลปะจารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น 8. 9. ** บรรดาอำนาจหน้าที่ที่ได้ซึ่งเป็นราชการส่วนกลางหรือราชการส่วนภูมิภาค อาจมอบให้ อบจ.ปฏิบัติได้ ทั้งนี้ตามที่กำหนดในกฎหมายกระทรวง อบจ.อำนาจหน้าที่ตามมาตรา 45 (9 ข้อ) 16

  17. บทบาทการพัฒนาการเกษตรในระดับท้องถิ่นของเจ้าหน้าที่ ระหว่าง กสก.กับ อปท.

  18. บทบาทการพัฒนาการเกษตรในระดับท้องถิ่นของเจ้าหน้าที่ ระหว่าง กสก.กับ อปท. (ต่อ)

  19. บันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือ สนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรของท้องถิ่น ระหว่าง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกับกรมส่งเสริมการเกษตร(วันที่ 17 เมษายน 2551) โดย ความเห็นพ้องทั้ง 3 สมาคม ได้แก่ ... 1. สมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย 2. สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย 3. สมาคมองค์การบริหารส่วนตำบลแห่งประเทศไทย 19

  20.  ประเด็นความร่วมมือ  1. การพัฒนาบุคลากรของ อปท. สถ. และกสก.: จัดทำหลักสูตร/ วิทยากร 2. การจัดทำฐานข้อมูลการเกษตรของ อปท. 3. สนับสนุน อปท. ในการพัฒนาการเกษตรและการให้บริการด้านการเกษตร 4. การบูรณาการแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบลกับแผนพัฒนาท้องถิ่น 5. การศึกษาวิจัยและติดตามประเมินผล 6. แต่งตั้งคณะทำงานร่วมกัน หมายเหตุ : กรมส่งเสริมการเกษตรมีการแต่งตั้งคำสั่งคณะกรรมการ โดยมีนายกสมาคมทั้ง 3 เป็นกรรมการที่ปรึกษา

  21. ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล (ศบกต.)

  22. จัดตั้ง ศบกต. โดยคำนึงถึงอาชีพหลักของเกษตรกรแต่ละพื้นที่เป็นสำคัญ มติครม. เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 ตั้งศูนย์ พัฒนาศูนย์ เพื่อ เพื่อ • ให้เป็นศูนย์กลางพัฒนาการเกษตรและศูนย์กลางการบริการอย่าง • เต็มรูปแบบในลักษณะบริการ ณ จุดเดียว (One-stop service) • เป็นศูนย์กลางในการให้บริการ • - ด้านวิชาการเกษตร • - ด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยี • การสนับสนุนฝ่ายรัฐในการดำเนินการ ตามแผนพัฒนาการเกษตรของชุมชน

  23. สรุปขั้นตอนการดำเนินงานของ ศบกต. 6 ขั้นตอน 6. ระบบ พาณิชย์ อิเลคทรอนิกส์ 5. การจัดตั้งศูนย์บริการฯ 4. การจดทะเบียนและบริการ 3. การปฏิบัติงานตามแผน 2. การจัดทำแผน 1. การเตรียมชุมชน • หลักการ: • สร้างเวทีชาวบ้านเพื่อวางแผนพัฒนาการเกษตร • มีการถ่ายทอดเทคโนโลยี + การให้บริการ • สร้างระบบข้อมูลข่าวสารระดับรากหญ้า • มีการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม

  24. กลไกดำเนินงานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล ศบกต. คณะกรรมการบริหารศูนย์ ฯ (3.1) (3.2) งบอุดหนุนตามแผนพัฒนาการเกษตร สนับสนุน วิชาการ/งบ ภาครัฐ วิชาการเกษตร - การตลาด - การผลิต - แปรรูป ฯลฯ การตลาด - การจำหน่ายสินค้าเกษตร - เครือข่าย - E-commere ฯลฯ • ปัจจัยการผลิต • วัสดุอุปกรณ์ • - packing • - เครื่องมือการเกษตร • ฯลฯ คลินิก - วินิจฉัยปัญหา - วิเคราะห์ดิน - ศัตรูพืช ฯลฯ กระบวนการ โรงเรียน เกษตรกร/ KM ฝึกอบรม/ทัศนศึกษา ดูงาน แปลงเรียนรู้/ จุดถ่ายทอด/ จุดสาธิต • งบ • - การลงทุน • ธุรกิจ • การส่งเสริมอาชีพ • ฯลฯ บุคลากร -คณะกรรมการ บริหารศูนย์ฯ - อาสาสมัครเกษตร - กลุ่มอาชีพ ที่ทำการศูนย์ฯ - ข้อมูล - นิทรรศการ/วิชาการ - เอกสารคำแนะนำ - ห้องสมุด - ห้องประชุม 1. ผลผลิต : การถนอมอาหาร Product : Food Preservation 2. Cottage industry : Household industry (อุตสาหกรรมในครัวเรือน) 3. Product champion (ผลิตภัณฑ์เด่น) 4. Agroindustry อุตสาหกรรมเกษตร อปท. (แผนพัฒนาท้องถิ่น) (2) สนับสนุนงบตามแผน ขอสนับสนุน แผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล (4)ดำเนินการ (4.2) (4.3) (4.1) 2. การถ่ายทอดเทคโนโลยี(กระบวนการเรียนรู้) 3. การให้บริการด้านการเกษตร (จนท.+กรรมการศูนย์+อาสาสมัครเกษตร) 1. การบริหารจัดการทรัพยากร ตามแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล (กรรมการบริหารศูนย์) • - เศรษฐกิจพอเพียง - เจ้าหน้าที่ • - การผลิตเพื่อแข่งขัน/GAP - วิทยากรเกษตรกร • วิสาหกิจชุชมชน/แปรรูป - อาสาสมัครเกษตร • - ปราชญ์ • เกษตรกรเป้าหมาย (ถูกชี้เป้า) • - ยากจน/ประสบภัย • - ปรับโครงสร้างการผลิต • วิสาหกิจ/แปรรูป • ฯลฯ (5) (5) กองทุนพัฒนาการเกษตร สหกรณ์ Cooperative (1) จัดเวทีชุมชน

  25. ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมชุมชน • โดยการสร้างให้ชุมชนเข้าใจการทำงานแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนา การเกษตรและกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน เพื่อการศึกษาวิเคราะห์วางแผน - ทำความเข้าใจโดยประชุมเสวนา/ ระดมความคิด - ตั้งคณะกรรมการบริหาร ศบกต. - ทำแบบจำลองกายภาค (Model) เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลสภาพภูมิศาสตร์ - ทำฐานข้อมูล เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาการเกษตร (กายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ และสังคม)

  26. ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแผน • จัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยง การผลิต One Village One Product (OVOP) สู่OTOP 1. แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาคุณภาพสินค้าและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ 2. แผนธุรกิจชุมชนด้านการเกษตร เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์หลักของตำบล - สร้างรายได้ระดับครอบครัว สู่ การรวมตัวระดับเศรษฐกิจชุมชน 3. แผนปรับปรุงฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - อนุรักษ์ + ฟื้นฟูทรัพยากร + ความหลากหลายทางชีวภาพ

  27. ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติตามแผน • เพื่อสร้างรายได้ การฟื้นฟูและสร้างความเข้มแข็งของเกษตรกร 1. แผนถ่ายทอดเทคโนโลยี - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการผลิต การตลาด ทางเลือกอาชีพที่เหมาะสม - การสร้างแกนนำสาธิต 2. แผนธุรกิจชุมชน - จัดหาอุปกรณ์เครื่องมือ/ ปัจจัย เพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิต การแปรรูป - สนับสนุนปัจจัยหมุนเวียน ผ่านคณะกรรมการกลุ่มอาชีพ 3. แผนฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  28. ขั้นตอนที่ 4 การจดทะเบียนและบริการ • การจดทะเบียนและบริการ โดยสมาชิกมีหน้าที่ให้ข้อมูล ด้านการเกษตร / ชุมชน • หน่วยงานของรัฐให้บริการพิเศษแก่สมาชิก • บริการเรื่องข้อมูล • เพิ่มขีดความสามารถด้าน IT

  29. ขั้นตอนที่ 5 การจัดตั้งศูนย์บริการ • เน้นให้เกิดการบริการที่จุดต่างๆ ในชุมชน • การบริการด้านอุปกรณ์การเกษตร เครื่องมือ เครื่องจักรกลการเกษตร • การควบคุมคุณภาพสินค้า/ การแปรรูปอย่างง่าย

  30. ขั้นตอนที่ 6 E-Commerce • การสนับสนุนการบริหารจัดการ เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลและการค้าขายสินค้าของชุมชน สู่ ตลาด - นำระบบร้านค้าเครือข่ายและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ - การค้าขายผ่านระบบคอมพิวเตอร์ (ความต้องการขายตรง)

  31. สรุป : แผนภูมิการเชื่อมโยงของ ศบกต.กับท้องถิ่น อปท. แผนพัฒนา ท้องถิ่น ข้อมูลการเกษตร การเรียนรู้ การให้บริการ แผนพัฒนาการเกษตร เครือข่าย ระบบส่งเสริมการเกษตร (พื้นที่) ท้องถิ่น ศบกต. สนับสนุน ภารกิจ ถ่ายโอน คณะกรรมการบริหารฯ ศบกต บริหารจัดการ. เวทีชุมชน เกษตรกร แผนปฏิบัติการ จนทฦ/ ศบกต./ อปท. บูรณาการแผน ด้านการถ่ายทอด ด้านการลงทุน เชิงธุรกิจ/ วิสาหกิจชุมชน ด้านทรัพยากร/ สิ่งแวดล้อม อาสาสมัครเกษตร (เกษตรหมู่บ้าน) วิทยากร/ ปราชญ์ เป็นวิทยากร จุดสาธิต/ ถ่ายทอด ศบกต. ศูนย์เรียนรู้ รับสมัคร 31

  32. การส่งเสริมการเกษตรของ ศบกต.ภายใต้การสนับสนุนจากภาครัฐและ อปท. บริหารจัดการทรัพยากรตามแผนพัฒนาการเกษตร ปฏิบัติตามแผน ศบกต. รัฐ (ชุมชน) ท้องถิ่น แผนพัฒนาการเกษตร บูรณาการ แผนพัฒนา องถิ่น ข้อมูลทางการเกษตร และ ทางเลือกโครงการ กรมส่งเสริม การเกษตร - บูรณาการให้บริการ - สนับสนุน เวทีชุมชน/ประชาคม งบประมาณ ศบกต. อปท. หน้าที่ ตาม พรบ. หน่วยงานสังกัด กระทรวงเกษตรฯ ถ่ายทอดเทคโนโลยี ให้บริการด้านการเกษตร ภารกิจถ่ายโอน 10 ภารกิจ เกษตรกร/กลุ่มอาชีพ/วิสาหกิจชุมชน 32

  33. ภารกิจของศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล (ศบกต.) เช่น - การเตรียมความพร้อมของชุมชน - การจัดทำแผน - การปฏิบัติตามแผน - การจดทะเบียนเกษตรกร - จัดตั้ง ศบกต. - การค้าขายโดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ - การถ่ายทอดเทคโนโลยี - การจัดทำข้อมูลพื้นฐานการเกษตร - การพยากรณ์ และการเตือนภัย ธรรมชาติ ภัยศัตรูพืช และภัยเศรษฐกิจ - การให้บริการประชาชน - ฯลฯ  ภารกิจตามมติ ครม. และนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒๕๔๓

  34.  ภารกิจของ ศบกต. ที่เป็นกลไกตามระบบส่งเสริมการเกษตร ได้แก่ - ข้อมูลด้านการเกษตรและสถานการณ์ในตำบลทั้ง ๔ ด้าน (กายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ และสังคม) - แผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล - การเรียนรู้ - การให้บริการ

  35.  ภารกิจของ ศบกต. ร่วมกับอาสาสมัครเกษตร ได้แก่ - การจัดทำข้อมูลด้านการเกษตร - การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล - เป็นวิทยากรตามสาขาอาชีพ

  36.  ภารกิจของ ศบกต.กับศูนย์เรียนรู้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการเกษตร โดย - คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนา - ประสาน/ สนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - จัดกระบวนการเรียนรู้ - ทำหน้าที่เป็นวิทยากร - จัดทำทำเนียบผู้รู้/ วิทยากรเกษตรกร

  37. แนวทางการดำเนินงานร่วมกัน กสก.-อปท. 1. การปฏิบัติตามภารกิจที่ถ่ายโอนของ กสก. นำไปสู่การปฏิบัติของ อปท. 1.1 ระดับจังหวัด (เกษตรจังหวัดร่วมกับท้องถิ่นจังหวัด) - บุคคลเป้าหมาย : เจ้าหน้าที่จังหวัด, เกษตรอำเภอ, ท้องถิ่นอำเภอ, อบจ. - ประเด็น : จัดประชุมเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ และแนวทางการดำเนินการ และสนับสนุนท้องถิ่น 1.2 ระดับอำเภอ (เกษตรอำเภอร่วมกับท้องถิ่นอำเภอ) - บุคคลเป้าหมาย: นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร (เลขานุการ ศบกต.) หรือ เกษตรตำบล, เจ้าหน้าที่ อปท. (ปลัดอปท./ นายก) ประธานกรรมการ ศบกต. - ประเด็น : ทำความเข้าใจบทบาทหน้าที่ตามภารกิจถ่ายโอน : จัดทำแผนปฏิบัติการตามภารกิจ/ งบ 37

  38. 1.3 ระดับตำบล/ท้องถิ่น ศบกต. โดยการสนับสนุนของ กสก. และท้องถิ่น (อบต./ เทศบาล) บุคคลเป้าหมาย 1. คณะกรรมการ ศบกต. ทุกคน 2. ประธานคณะกรรมการหมู่บ้าน(กม.) หรือ ผู้แทน 3. เกษตรหมู่บ้าน หรือ อาสาสมัครเกษตรปราชญ์หมู่บ้าน ประเด็น - บทบาทหน้าที่ และการมีส่วนร่วมของรัฐ + อปท. + ชุมชน ในการพัฒนา การเกษตรของชุมชน - แผนงาน/โครงการและแผนปฏิบัติงานประจำวัน - การปฏิบัติตามภารกิจที่ถ่ายโอนและการพัฒนาการเกษตร (ข้อตกลงความร่วมมือ) แนวทางการดำเนินงานร่วมกัน (ต่อ) 38

  39. 2. การดำเนินการตามบันทึก MOU ให้เป็นรูปธรรม 2.1 การฝึกอบรมพัฒนาบุคลากร (ความรู้+ทักษะ/ วิชาการ) - อปท.: นวก./ เจ้าหน้าที่, ผู้บริหาร (ปลัด/ นายก) - กสก.: เกษตรตำบล, ผู้บริหาร (เกษตรอำเภอ) - ศบกต.: ประธาน, กรรมการ 2.2 การจัดทำฐานข้อมูล/ ระบบข้อมูลพืชเศรษฐกิจและครัวเรือน >> ประเด็น: ข้อมูลสถิติการปลูกพืช/ ข้อมูลการตลาด 2.3 การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล บูรณาการกับแผนท้องถิ่น >> ประเด็น ; - ความรู้/เทคนิคการจัดเก็บข้อมูล, การวิเคราะห์พื้นที่และชุมชน - การจัดทำแผนงานโครงการ/ กิจกรรม - การบูรณาการ เพื่อจัดทำแผนพัฒนาการเกษตร (แผน 3 ปี) และแผนปฏิบัติประจำปี - การจัดการองค์ความรู้ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการจัดทำ แผนพัฒนาการเกษตร / ทางเลือกการเกษตร 39

  40. (เกินศักยภาพ) ศบกต. แผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล เสนอปัญหาและความต้องการ หมู่บ้าน/ ชุมชน กลุ่มอาชีพ/ วิสาหกิจ การเสนอทางเลือกโครงการ อปท. กสก. ภูมิภาค/จังหวัด อบจ. (แผนพัฒนาท้องถิ่น) สำนักงาน เกษตรจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด (แผนพัฒนาจังหวัด) เสนอโครงการ เสนอโครงการ 4 5 ทางเลือกโครงการ เสนอแผน/ของบ 1 4 คณะกรรมการประสาน งานแผนระดับอำเภอ สำนักงาน เกษตรอำเภอ นายอำเภอ ทางเลือกโครงการ เสนอแผน/ ของบ 1 4 เทศบาล/เทศบาลตำบล อบต. (แผนพัฒนาท้องถิ่น) เสนอโครงการ 3 1 2 ข้อมูล/ทางเลือกโครงการ 40

  41. 2.4 การให้บริการด้านการเกษตร (ที่ ศบกต.) - ข้อมูลวิชาการ/ นิทรรศการ/ตัวอย่างโรค แมลง ฯลฯ - การจัดเจ้าหน้าที่อาสาสมัครเกษตรให้คำแนะนำ - การจัดทำคลินิก (วิเคราะห์ดิน/ ธาตุอาหาร/ วินิจฉัยศัตรูพืช / สารพิษตกค้าง) แบบประหยัด 2.5 การส่งเสริมอาชีพของราษฎร โดยน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประกอบอาชีพด้านการเกษตร - จัดทำแปลงเรียนรู้/ ฝึกทักษะ - กระบวนการโรงเรียนเกษตรกร พืชเศรษฐกิจท้องถิ่น * กิจกรรม:ไร่นาสวนผสม/ เกษตรผสมผสาน 41

  42. 3. การพัฒนาการเกษตรของท้องถิ่น เรื่องหลัก 3.1 การถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่เกษตรกร (Learning by doing) โดยผ่านการฝึกกอบรม ดูงาน/ ฝึกทักษะ /จุดถ่ายทอด 3.2 การทดสอบหรือสาธิตเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับท้องถิ่น/ พัฒนาจุดสาธิต 3.3 การส่งเสริมการผลิตพืชที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคของท้องถิ่น - แปลงส่งเสริมการผลิตปลอดสารพิษ - การสร้างตลาดของชุมชน/ เมือง - การจัดทำแปลงสำรวจสถานการณ์ศัตรูพืช (เฝ้าระวัง)

  43. 3.4 การส่งเสริมเกษตรกรจัดทำการเกษตรตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง - การจัดทำไร่นาสวนผสม/ เกษตรผสมผสาน/ทฤษฏีใหม่ - การแปรรูป / วิสาหกิจชุมชน - การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร 3.5 การพัฒนาบุคลากร องค์กร/สถาบันเกษตรกร ใช้ทรัพยากร/ ปัจจัยภายในพึ่งพาตนเอง อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรสิ่งแวดล้อม/บริหารจัดการศัตรูพืช การส่งเสริมด้านเกษตรอินทรีย์

  44. ไตรภาคี  แผนพัฒนาท้องถิ่น + แผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล เพื่อ 1. พัฒนาพื้นที่ (Area) เพื่อการเกษตร 2. พัฒนาวิชาการ / เทคโนโลยี / องค์ความรู้ด้านการเกษตร เหมาะสมกับพื้นที่ (Appropriate technology) 3. พัฒนาเกษตรกร / องค์กร / บุคลากร มีสมรรถนะและสร้างความเข้มแข็ง 4. การให้บริการด้านการเกษตรแก่เกษตรกรในพื้นที่ คลินิก 5. การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ แผนพัฒนาการเกษตร  เป้าหมาย ส่งเสริมอาชีพให้เกษตรกรอยู่ดีมีสุขอย่างยั่งยืน + อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สรุปภารกิจที่ร่วมกันในการพัฒนาการเกษตรท้องถิ่น * โดย กรมส่งเสริมการเกษตร = สนับสนุน+ร่วมปฏิบัติ+ที่ปรึกษา อปท. = เจ้าภาพ/ ปฏิบัติ + งบประมาณ ชุมชน = 5 ร่วม 44

  45. สวัสดี

More Related