1 / 26

ก้าวเข้าสู่ตำแหน่ง ทางวิชาการ

ก้าวเข้าสู่ตำแหน่ง ทางวิชาการ. รองศาสตราจารย์เพ็ญรัตน์ หงษ์วิทยากร รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้. หลักการที่เกี่ยวข้องกับ การขอกำหนด ตำแหน่งทางวิชาการ. “ผลงานของอาจารย์คือผลงานของมหาวิทยาลัย”. เกณฑ์การพิจารณา.

Download Presentation

ก้าวเข้าสู่ตำแหน่ง ทางวิชาการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ก้าวเข้าสู่ตำแหน่ง ทางวิชาการ รองศาสตราจารย์เพ็ญรัตน์ หงษ์วิทยากร รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

  2. หลักการที่เกี่ยวข้องกับการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการหลักการที่เกี่ยวข้องกับการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ “ผลงานของอาจารย์คือผลงานของมหาวิทยาลัย”

  3. เกณฑ์การพิจารณา มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งและปฏิบัติภาระงานตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งได้ครบถ้วนทั้งปริมาณและคุณภาพ มีผลการสอนเป็นไปตามเกณฑ์ทั้งปริมาณและคุณภาพ มีผลงานทางวิชาการ เป็นตามเกณฑ์ ทั้งปริมาณและคุณภาพ มีจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ 3

  4. ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 9 ปี ปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 5 ปี ปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 2 ปี ขอกำหนดตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไม่น้อยกว่า 3 ปี ขอกำหนดตำแหน่งรองศาสตราจารย์

  5. จากตำแหน่งรองศาสตราจารย์ เป็นรองศาสตราจารย์ ไม่น้อยกว่า 2 ปี ขอกำหนดตำแหน่งศาสตราจารย์ 10 เป็นศาสตราจารย์ระดับ 10 และได้รับเงินเดือนขั้นต่ำของระดับ 11 ขอกำหนดตำแหน่งศาสตราจารย์ 11

  6. โครงสร้างหน่วยงาน สำนักงานสภามหาวิทยาลัย งานวิชาการและวิจัย หน่วยกำหนดตำแหน่งวิชาการ

  7. ชุดกรรมการที่เกี่ยวข้องชุดกรรมการที่เกี่ยวข้อง • คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.อ.) 2. อนุกรรมการประเมินผลการสอน สกอ. 1. คณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งวิชาการ (บอร์ด) ม/ส 3. ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานวิชาการ

  8. สภามหาวิทยาลัย คณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งวิชาการ ประธานต้องมาจากกรรมการสภามหาวิทยาลัย กรรมการต้องเป็น ศ. มาจากหน่วยงานภายนอกจำนวน 8 คน มีบุคลากรในมหาวิทยาลัย 1 คนเป็นเลขานุการ

  9. คณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งวิชาการคณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งวิชาการ อนุกรรมการประเมินผลการสอน(บุคลากรภายในคณะ) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานวิชาการ(บุคลากรจากภายนอกในสาขาวิชาที่มีการขอกำหนดตำแหน่ง)

  10. ผลงานในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการผลงานในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ ‘ผลงานของอาจารย์คือผลงานของมหาวิทยาลัยนั่นเอง’ ผลงานส่วนที่ 1 ผลงานเพื่อประเมินผลการสอนเอกสารประกอบการสอน หรือ เอกสารคำสอน ผลงานส่วนที่ 2ผลงานวิชาการ  งานวิจัย หรือ ผลงานวิชาการ ในลักษณะอื่น และ  หนังสือ หรือ ตำราหรือ บทความทางวิชาการ

  11. ผลงานที่จัดส่ง : ผลงานเพื่อการประเมินผลการสอน 1. การประเมินผลการสอน เอกสารประกอบการสอน ดี 2. การประเมินผลงานวิชาการ

  12. ผลงานที่จัดส่ง : ผลงานเพื่อการประเมินผลการสอน 1. การประเมินผลการสอน เอกสารคำสอน ดี 2. การประเมินผลงานวิชาการ

  13. ผลงานที่จัดส่ง : ผลงานเพื่อการประเมินผลการสอน 1. การประเมินผลการสอน ไม่ต้องใช้เอกสาร ดีมาก 2. การประเมินผลงานวิชาการ

  14. ผลงานที่จัดส่ง : ผลงานเพื่อการประเมินผลการสอน 1. การประเมินผลการสอน ไม่ต้องใช้เอกสาร ดีเด่น 2. การประเมินผลงานวิชาการ

  15. ความเชื่อมโยงของพันธกิจของความเป็นอาจารย์อุดมศึกษาความเชื่อมโยงของพันธกิจของความเป็นอาจารย์อุดมศึกษา สอน บริการวิชาการ วิจัย

  16. ตำรา หนังสือ

  17. ประเด็นสำคัญของการขอตำแหน่งวิชาการประเด็นสำคัญของการขอตำแหน่งวิชาการ • ระเบียบกฎเกณฑ์ในการขอตำแหน่งวิชาการแบบราชการ มุ่งเน้นในเรื่องตำแหน่งมากกว่าสาระในเรื่องการพัฒนาบุคลากร • ระเบียบกฎเกณฑ์ของคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (กพอ) บางเรื่องยังมีปัญหาในการตีความ ซึ่งนำไปสู่วิธีการปฏิบัติที่ผิด • การให้ค่าน้ำหนักการขอผลงานนทางวิชาการที่ไม่ครบทุกพันธกิจ

  18. ประเด็นสำคัญของการขอตำแหน่งวิชาการประเด็นสำคัญของการขอตำแหน่งวิชาการ • การได้รับตำแหน่งวิชาการของอาจารย์ นอกจากจะเกิดผลประโยชน์ต่อตัวอาจารย์เองแล้ว ในปัจจุบัน ยังเป็นดัชนีชี้วัด (key performance indicator หรือ KPI) อย่างหนึ่งในการประเมินคุณภาพและผลงานของมหาวิทยาลัยไทย • การแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิโดยคำนึงถึงคุณภาพและมาตรฐาน และเป็นไปตามหลักการสากลของระบบการอ่านพิจารณาผลงานวิชาการโดยผู้เชี่ยวชาญ (peer-review system) • ในการขอตำแหน่ง วิชาการของอาจารย์ จะต้องมีการดำเนินการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ตรงไปตรงมา และประกอบด้วยคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ

  19. ข้อมูลอาจารย์มหาวิทยาลัยของรัฐ 24 แห่ง พ.ศ. 2552

  20. สรุป โครงสร้างตำแหน่ง การรับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง ของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ตำแหน่งวิชาการ ตำแหน่งประเภทบริหาร ศ. 11 เชี่ยวชาญพิเศษ ซี 10 ศ. 9-10 เชี่ยวชาญ รศ. 7-9 ระดับ 9 ซี 9 ชำนาญการ ผศ. 6-8 ระดับ 8 ซี 7-8 ชำนาญการ อ. 3-7 ระดับ 7 ซี 6 ซี 3-6,7 ปฏิบัติการ ซี 1-4

  21. ปัจจัยที่เอื้อต่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการปัจจัยที่เอื้อต่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้วิจัย : ศรุดา ชัยสุวรรณ , ศ.ดร. วิชัย วงษ์ใหญ่ , ศ.ดร. เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ ราชบัณฑิต , ผศ.ดร. สุดา ทัพสุวรรณ

  22. ปัจจัยที่เอื้อต่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเอกชนFactors Conducing to Academic Promotion of Instructorsin Private Universities ระดับมหาวิทยาลัย • นโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุน • การให้ความสำคัญต่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ-วัฒนธรรมองค์กร ค่านิยม ระดับคณะ • การกระตุ้น การให้กำลังใจอาจารย์ • การจัดและลดภาระงานสอนให้อาจารย์ ผู้วิจัย : ศรุดา ชัยสุวรรณ , ศ.ดร. วิชัย วงษ์ใหญ่ , ศ.ดร. เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ ราชบัณฑิต , ผศ.ดร. สุดา ทัพสุวรรณ

  23. ปัจจัยที่เอื้อต่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเอกชนFactors Conducing to Academic Promotion of Instructorsin Private Universities ระดับบุคคล • การเข้าใจกฏ ระเบียบ ข้อบังคับ • แรงจูงใจ เจตคติต่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ • การพัฒนาตนเองด้านวิชาการ ผู้วิจัย : ศรุดา ชัยสุวรรณ , ศ.ดร. วิชัย วงษ์ใหญ่ , ศ.ดร. เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ ราชบัณฑิต , ผศ.ดร. สุดา ทัพสุวรรณ

  24. ปัจจัยที่เอื้อต่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยของรัฐFactors Conducing to Academic Promotion of Instructorsin Public Universities ระดับมหาวิทยาลัย • การกำหนดนโยบายที่ชัดเจน • การสนับสนุนจากผู้บริหารทุกระดับอย่างสอดคล้อง • การสร้างแรงจูงใจในการผลิตผลงาน – เงิน ทรัพยากรวิจัย • การสร้างวัฒนธรรมองค์กรด้านคุณภาพของงาน • การปรับปรุงขั้นตอนการดำเนินงาน

  25. ปัจจัยที่เอื้อต่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยของรัฐFactors Conducing to Academic Promotion of Instructorsin Public Universities ระดับคณะ/สาขาวิชา • การสร้างแรงจูงใจในการผลิตผลงาน – เงิน ทรัพยากรวิจัย เพิ่มเติมจากมหาวิทยาลัย • การกำหนดค่าเป้าหมายที่ต้องการบรรลุ และทำความเข้าใจร่วมกัน • การให้ข้อมูลช่องทางการเผยแพร่ผลงาน รวมทั้งการสนับสนุนค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น • การยกย่อง ประกาศเกียรติคุณ

  26. ปัจจัยที่เอื้อต่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยของรัฐFactors Conducing to Academic Promotion of Instructorsin Public Universities ระดับบุคคล • การได้รับแรงจูงใจจากระดับมหาวิทยาลัย/คณะ/สาขาวิชา ก่อนทำผลงาน • การได้รับค่าตอบแทน หลังการขอตำแหน่งวิชาการ • มีตำแหน่งทางบริหารได้ง่ายขึ้น • สามารถเป็นอาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษาได้

More Related