1 / 11

การบริหารจัดการในชั้นเรียน

การบริหารจัดการในชั้นเรียน. การบริหารจัดการในชั้นเรียน.

napua
Download Presentation

การบริหารจัดการในชั้นเรียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการในชั้นเรียนการบริหารจัดการในชั้นเรียน

  2. การบริหารจัดการในชั้นเรียนการบริหารจัดการในชั้นเรียน • หมายถึง การจัดสภาพของห้องเรียนทางด้านกายภาพหรือการตกแต่งห้องเรียนด้วยวัสดุที่สวยงามเพื่อเป็นการจูงใจนักเรียนให้มีความสนใจและตั้งใจเรียน ครูก็เป็นส่วนหนึ่งที่เป็นผู้สร้างและส่งเสริมกระบวนการสอน สร้างความมีระเบียบวินัยให้กับผู้เรียน และช่วยให้การเรียนการสอนในชั้นเรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลแก่ผู้เรียนอย่างยั่งยืน

  3. ความสำคัญของการจัดการชั้นเรียนความสำคัญของการจัดการชั้นเรียน • การเรียนรู้จะเกิดขึ้นไม่ได้หรือเกิดขึ้นได้น้อยถ้ามีสิ่งรบกวนในชั้นเรียนอยู่ตลอดเวลาด้วยปัญหาทางด้านพฤติกรรมของนักเรียน • นักเรียนที่อยู่ในชั้นเรียนที่ไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย สิ่งแวดล้อมในชั้นเรียนมีเสียงดัง การจัดที่นั่งไม่เหมาะสม ส่งผลให้นักเรียนไม่สามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่ • ชั้นเรียนที่มีการจัดการกับพฤติกรรมของนักเรียนได้อย่างเหมาะสม จะทำให้ครูสามารถดำเนินการสอนได้อย่างเต็มที่ • การจัดชั้นเรียนให้นักเรียนมีวินัยอยู่ร่วมกันด้วยความเอื้ออาทร คำนึงถึงกฎระเบียบในชั้นเรียน จะส่งผลเป็นการปลูกฝังลักษณะนิสัยเพื่อความเป็นพลเมืองดีในอนาคต

  4. ลักษณะของชั้นเรียนที่ดีลักษณะของชั้นเรียนที่ดี • ชั้นเรียนที่ดีควรมีสีสันที่น่าดู สบายตา อากาศถ่ายเทได้ดี ถูกสุขลักษณะ • จัดโต๊ะเก้าอี้และสิ่งที่มีอยู่ในชั้นเรียนให้เอื้ออำนวยต่อการเรียนการสอน • ให้นักเรียนได้เรียนอย่างมีความสุข มีวินัยในการดูแลตนเอง • ใช้ประโยชน์ในชั้นเรียนให้คุ้มค่า • จัดเตรียมชั้นเรียนให้มีความพร้อมต่อการสอนในแต่ละครั้ง • สร้างบรรยากาศให้อบอุ่น ให้ความเป็นกันเองกับผู้เรียน

  5. รูปแบบการจัดชั้นเรียนรูปแบบการจัดชั้นเรียน • ชั้นเรียนแบบธรรมดา โดยมีครูเป็นศูนย์กลาง เป็นผู้นำการเรียนรู้ มีโต๊ะครูอยู่หน้า โต๊ะนักเรียนวงเรียงกันเป็นแถว ผนังห้องเรียนมีสื่อการสอน เช่นแผนภูมิ รูปภาพ ติดอยู่ บางห้องเรียนอาจมีมุมนิทานหลังห้อง บทบาทของครูนักเรียนนั้น ครูจะเป็นผู้รอบรู้ในด้านต่างๆ ใช้วิธีการสอนแบบป้อนความรู้ให้แกนักเรียนโดยการบรรยาย อธิบายให้นักเรียนฟัง ครูจะเป็นผู้แสดงกิจกรรมต่างๆเอง สื่อการสอนการสอนที่ใช้ส่วนมาก ได้แก่ ชอล์ก กระดานดำ และแบบเรียน

  6. ชั้นเรียนแบบนวัตกรรม • เป็นชั้นเรียนที่เอื้ออำนวยต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิควิธีการสอนแบบใหม่ๆ ทำให้นักเรียนมีอิสระในการเรียน การทำงานเป็นกลุ่ม หรือรายบุคคล โดยมีครูเป็นผู้ให้คำปรึกษา การจัดโต๊ะเรียนนิยมจัดเป็นกลุ่มเพื่อให้นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน บทบาทของครูและนักเรียน ครูจะพูดน้อยลง ให้นักเรียนได้คิด ถาม แก้ปัญหา และทำกิจกรรมด้วยตนเอง สื่อการสอน เช่น บทเรียนแบบโปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

  7. ลักษณะการจัดชั้นเรียนทางกายภาพที่ดีลักษณะการจัดชั้นเรียนทางกายภาพที่ดี • มีการจัดที่ว่างในชั้นเรียนอย่างชัดเจน เพื่อใช้เอนกประสงค์และเพื่อให้นักเรียนมั่นใจในการใช้ที่ว่างของตน • มีที่ว่างส่วนตัวของนักเรียนแต่ละคน และมีพื้นที่ของนักเรียนทั้งกลุ่มใหญ่และกลุ่มเล็ก สำหรับทำกิจกรรมต่างๆ • ลักษณะที่นั่งของนักเรียนเป็นแถวเพื่อสะดวกในการทำกิจกรรมการเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาการ • ครูและนักเรียนทั้งชั้นควรมองเห็นกันและกันอย่างชัดเจน • ควรจำกัดสิ่งเร้าทางการมองเห็นและการได้ยินที่จะมารบกวนความสนใจ และพฤติกรรมของนักเรียนซึ่งจะทำให้เกิดผลดีต่อการดำเนินในชั้นเรียน • จัดที่ว่างสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษควรให้นั่งใกล้กับครู จะทำให้เกิดผลดี

  8. การจัดชั้นเรียนด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพการจัดชั้นเรียนด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ • เป็นสภาพที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ อาคาร สถานที่ โต๊ะ เก้าอี้ สื่อ อุปกรณ์การสอนต่างๆ สภาพแวดล้อมทางการเรียนด้านกายภาพ จะส่งผลต่อการเรียนการสอน สภาพแวดล้อมทางกายภาพแบ่งออกเป็น • สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน เช่น ห้องเรียน อุปกรณ์การเรียน ประตู หน้าต่าง กระดานดำ แสงสว่าง เสียง อุณหภูมิ • สภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียน ได้แก่ แหล่งความรู้ต่างๆ เช่น ห้องปฏิบัติการ ห้องทดลอง ห้องสมุด ศูนย์วัฒนธรรมต่างๆ

  9. ปัญหาในการจัดบรรยากาศการเรียนรู้ปัญหาในการจัดบรรยากาศการเรียนรู้ • ข้อจำกัดทางด้านงบประมาณ ไม่มีงบประมาณในการส่งเสริมการจัดบรรยากาศในการเรียนรู้ เนื่องจากการจัดการตกแต่งห้องเรียนในแต่ละครั้งอาจจะต้องอาศัยงบประมาณในการซื้ออุปกรณ์ในการตกแต่งต่างๆ • ขาดความร่วมมือของบุคลากรและผู้เรียน ในบางห้องเรียนครูผู้สอนและนักเรียนเกิดความขัดแย้งและมองไม่เห็นความสำคัญของการจัดการบริหารชั้นเรียน • ครูไม่มีเวลา ไม่มีความรู้ ครูบางท่านมีภาระการสอนหลายห้อง ทำให้ไม่มีเวลาในการปรับปรุงหรือตกแต่งภายในห้องเรียน • ผู้บริหารไม่สนับสนุน ผู้บริหารบางโรงเรียนไม่เห็นความสำคัญและขาดความเข้าใจในการจัดการบริหารชั้นเรียน

  10. สรุป • การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน จึงเป็นสิ่งสำคัญในการช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนและช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถรับผิดชอบควบคุมดูแลตนเองได้ • การสร้างบรรยากาศที่ดีในห้องเรียนนั้นทำให้เกิดความสุขกับผู้เรียน และเป็นอง๕ประกอบสำคัญประการหนึ่งในการสร้างคุณลักษณะนิสัยของการใฝ่เรียน • ซึ่งบุคคลสำคัญที่จะสร้างบรรยากาศการเรียนรู้อย่างมีความสุขให้เกิดขึ้นได้ คือ ครู ผู้นำทางความรู้นั่นเอง

  11. สมาชิกกลุ่ม นายยุทธพิชัย ขาวภา รหัสนักศึกษา 5670107235 นางสาวนันทิกา มะอิสูงเนิน รหัสนักศึกษา 5670107208 นางสาวศศิกานต์ จงชิดกลาง รหัสนักศึกษา 5670107223 นางสาวสุวินันท์ เนียมสูงเนิน รหัสนักศึกษา 5670107230 นางสาววรรณลัดดา ถินกลาง รหัสนักศึกษา 567010221 นางสาวบุปผา นาเหลากลาง รหัสนักศึกษา 567010210 นางสาวเบญจวรรณ แช่มปากเพรียม รหัสนักศึกษา 567010211

More Related